Page 48 - รายงานวิจัย เรื่อง ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว
P. 48
สถานการณ์ที่น�ามาสู่การอพยพและการตั้งค่ายผู้ลี้ภัย
๒. การมีส่วนร่วมหรือมีความสัมพันธ์กับผู้เคลื่อนไหวทางการเมืองหรือกองก�าลังกลุ่มชาติพันธุ์
ผลจำกกำรมีส่วนร่วมหรือมีควำมสัมพันธ์กับนักเคลื่อนไหวทำงกำรเมือง หรือกองก�ำลังกลุ่มชำติพันธุ์เป็นสำเหตุ
ส�ำคัญล�ำดับที่สองที่ผู้ให้สัมภำษณ์จ�ำนวน ๒๒ คน จำกจ�ำนวนผู้ให้สัมภำษณ์ที่เป็นผู้พักอำศัยในค่ำยผู้ลี้ภัย ๑๑๗ คน หรือร้อยละ ๑๘.๘๐
กล่ำวถึงว่ำเป็นปัจจัยผลักดันที่ท�ำให้ผู้พักอำศัยไม่สำมำรถด�ำเนินวิถีชีวิตตำมปกติของตนที่บ้ำนเกิดในประเทศพม่ำ/เมียนมำร์ได้
และต้องเดินทำงออกมำเพื่อแสวงหำพื้นที่แห่งอื่นที่สำมำรถให้ควำมปลอดภัยแก่พวกเขำ
จำกกำรสัมภำษณ์ได้เรียนรู้ว่ำ ลักษณะของกลุ่มประชำกรส่วนใหญ่ที่ต้องเดินทำงออกจำกประเทศพม่ำ/เมียนมำร์
ด้วยเหตุผลของกำรมีส่วนเกี่ยวข้องกับกำรเมืองนี้ มักเป็นกลุ่มประชำกรที่มีสัดส่วนของกลุ่มชำติพันธุ์อื่นๆ มำกกว่ำกลุ่มชำติพันธุ์กะเหรี่ยง
โดยผู้ให้สัมภำษณ์ที่เป็นประชำกรกลุ่มชำติพันธุ์อื่นๆ มีจ�ำนวนทั้งสิ้น ๑๔ คน (คิดเป็นร้อยละ ๖๓.๖๓) ขณะที่ประชำกรกลุ่มชำติพันธุ์
กะเหรี่ยงมีจ�ำนวนทั้งสิ้น ๘ คน (คิดเป็นร้อยละ ๓๖.๓๖)
จำกบทสัมภำษณ์ของผู้ให้สัมภำษณ์ทั้ง ๒๒ คน ท�ำให้รู้ว่ำผู้ให้สัมภำษณ์ทั้งชำวกะเหรี่ยงและกลุ่มชำติพันธุ์อื่นๆ
ที่ต้องเดินทำงออกจำกประเทศพม่ำ/เมียนมำร์ เนื่องจำกมีควำมเกี่ยวข้องกับกำรเคลื่อนไหวทำงกำรเมือง ผู้ให้สัมภำษณ์เหล่ำนี้ต่ำงมี
ภูมิหลังกำรด�ำเนินชีวิตอยู่ในพื้นที่เขตเมือง จึงมีข้อสันนิษฐำนว่ำพื้นที่อยู่อำศัยและด�ำเนินชีวิตของประชำกรนั้นมีควำมสัมพันธ์
ต่อควำมสำมำรถในกำรเข้ำไปข้องเกี่ยวกิจกรรมหรือผู้คนที่มีส่วนเคลื่อนไหวทำงกำรเมือง
พื้นที่เมืองนั้นเป็นศูนย์รวมของผู้คนที่มีศักยภำพในกำรเคลื่อนไหวทำงกำรเมือง เช่น นักศึกษำ นักกำรเมือง นักกิจกรรม
เคลื่อนไหว กองก�ำลังกลุ่มชำติพันธุ์ เป็นต้น และมีโครงสร้ำงที่สำมำรถรองรับด�ำเนินกิจกรรมกำรเคลื่อนไหวได้ เช่น มหำวิทยำลัย โรงเรียน
ถนน เป็นต้น กำรประท้วงหรือกำรด�ำเนินกิจกรรมทำงกำรเมืองส่วนใหญ่จึงมักจะเกิดขึ้นในเขตพื้นที่เมือง กำรที่กิจกรรมทำงกำรเมือง
เกิดในพื้นที่เมืองท�ำให้ผู้คนที่ด�ำเนินวิถีชีวิตอยู่ในพื้นที่ดังกล่ำวสำมำรถถูกดึงดูดเข้ำไปเกี่ยวพันได้ในอัตรำที่สูงกว่ำวิถีชีวิตที่ด�ำเนินอยู่ใน
เขตพื้นที่ชนบท
ผู้ให้สัมภำษณ์ที่เป็นกลุ่มชำติพันธุ์อื่นๆ นั้น ส่วนใหญ่ล้วนมีภูมิหลังที่ด�ำเนินวิถีชีวิตในเมืองซึ่งแตกต่ำงกับประชำกร
กลุ่มชำติพันธุ์กะเหรี่ยงส่วนใหญ่ในค่ำยผู้ลี้ภัยที่มีภูมิหลังมำจำกกำรด�ำเนินชีวิตในพื้นที่เขตชนบท โดยที่มีส่วนน้อยเท่ำนั้นที่ด�ำเนินชีวิต
อยู่ในเมือง ดังนั้น จึงท�ำให้สัดส่วนของประชำกรกลุ่มชำติพันธุ์อื่น ๆ ที่มีควำมเกี่ยวข้องกับกำรเมืองนั้นมีสัดส่วนที่สูงกว่ำกลุ่มชำติพันธุ์
กะเหรี่ยง
ผู้ให้สัมภำษณ์บำงคนนั้น ไม่ได้มีเจตนำที่จะเข้ำไปมีส่วนร่วมทำงกำรเมืองแต่อย่ำงใด เช่น กรณีของเนมินท์ ชำยชำวชิน
อำยุ ๕๙ ปี เข้ำมำพักอำศัยในค่ำยผู้ลี้ภัยบ้ำนแม่หละ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้ให้สัมภำษณ์ว่ำ เขำเคยเป็นศำสนำจำรย์สอนศำสนำคริสต์
ที่ต้องเดินทำงไปเผยแผ่ศำสนำยังประเทศต่ำงๆ โดยที่ประเทศพม่ำ/เมียนมำร์และประเทศไทยก็เป็นประเทศในควำมรับผิดชอบ
ของเขำ เขำจึงเดินทำงไปกลับระหว่ำงประเทศไทยกับประเทศพม่ำ/เมียนมำร์ วันหนึ่งขณะที่พักผ่อนอยู่ที่บ้ำนญำติในย่ำงกุ้งในปี
พ.ศ. ๒๕๕๐ เขำก็ได้ยินว่ำจะมีกำรเดินขบวนประท้วงของพระสงฆ์ ท�ำให้เขำอยำกไปดู “เรำก็แค่อยำกไปดูกำรประท้วง” อย่ำงไรก็ดี
ขณะที่เขำดูกำรเดินขบวนประท้วง เขำก็ได้ปรบมือร่วมกับขบวนประท้วง และนั่นท�ำให้ชีวิตของเนมินท์ต้องเปลี่ยนแปลงไป
ภำยในคืนนั้น ต�ำรวจประจ�ำท้องถิ่นได้เข้ำมำเคำะประตูบ้ำนญำติของเขำ พร้อมกับกล่ำวหำว่ำเนมินท์สนับสนุนกำร
ประท้วง ต�ำรวจยึดพำสปอร์ตของเขำไป ด้วยควำมกลัวว่ำจะได้รับควำมเดือดร้อน ญำติของเนมินท์ได้บังคับให้เขำและครอบครัว
ย้ำยออกจำกบ้ำนของตนไป เนมินท์และครอบครัวพยำยำมจะเดินทำงไปยังบ้ำนพ่อแม่ของภรรยำในรัฐกะเหรี่ยง แต่พวกเขำไปไม่ถึง
ญำติคนอื่นๆ จึงบอกให้พวกเขำเดินทำงมำยังค่ำยผู้ลี้ภัยบ้ำนแม่หละแทน
ในหลำยกรณี สมำชิกในครอบครัวหรือคนรู้จักเข้ำไปมีส่วนร่วมทำงกำรเมืองมำกกว่ำตัวของผู้ให้สัมภำษณ์เอง ตัวอย่ำง
เช่น ยำเลย์ ชำยชำวพม่ำ อำยุ ๔๙ ปี เข้ำมำในค่ำยผู้ลี้ภัยบ้ำนแม่หละ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ เล่ำว่ำ หลังจำกเหตุกำรณ์กำรประท้วงของ
นักศึกษำในปี พ.ศ. ๒๕๓๑ พี่ชำยของเขำที่เป็นนักกำรเมืองได้หลบหนีออกจำกประเทศพม่ำ/เมียนมำร์มำอยู่ค่ำยผู้ลี้ภัยแม่หละ ท�ำงำน
ให้กับสันนิบำตแห่งชำติเพื่อประชำธิปไตย (National League for Democracy - Liberated Areas: NLD-LA) ที่มีส�ำนักงำนอยู่
ในอ�ำเภอแม่สอด พี่ชำยของเขำมักร้องขอให้ยำเลย์ท�ำหน้ำที่ส่งข่ำวสำรและเงินกลับไปยังเพื่อนสมำชิกขององค์กรของเขำที่อยู่ในฝั่ง
34 35
ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว