Page 49 - รายงานวิจัย เรื่อง ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว
P. 49
บทที่ ๒
พม่ำ/เมียนมำร์ ยำเลย์กล่ำวว่ำที่จริงแล้วนั้น เขำไม่อยำกเกี่ยวข้องอะไรกับองค์กร NLD-LA เลยแม้แต่น้อย แต่เขำต้องท�ำหน้ำที่เป็น
คนส่งสำร เพรำะหนึ่งในสมำชิกขององค์กรนี้คือพี่ชำยของเขำเอง ตัวเขำเองนั้นปรำรถนำที่จะมีชีวิตอย่ำงคนธรรมดำมำกกว่ำกำร
เข้ำไปข้องเกี่ยวกับองค์กรทำงกำรเมือง ท�ำให้เขำต้องย้ำยครอบครัวหนีไปตำมที่ต่ำง ๆ เพื่อหลบซ่อนสำยลับและพยำยำมด�ำรงชีวิตตำม
ปกติของตนเอง
กระนั้นก็ดี กำรถูกพบหรือต้องสงสัยมีส่วนร่วมหรือมีควำมสัมพันธ์กับนักเคลื่อนไหวทำงกำรเมืองหรือกองก�ำลังกลุ่ม
ชำติพันธุ์ได้ส่งผลกระทบต่อกำรด�ำเนินวิถีชีวิตปกติของผู้คนอย่ำงหลีกเลี่ยงไม่ได้ ผู้ให้สัมภำษณ์หลำยคนกล่ำวถึงวิถีชีวิตที่ถูกจับตำมอง
อยู่ตลอดเวลำทั้งจำกเจ้ำหน้ำที่ของรัฐและชำวบ้ำนคนอื่น เช่น มิโช หญิงชำวพม่ำวัย ๖๘ ปี เธอเป็นภรรยำของศำสนำจำรย์ ท�ำให้
ครอบครัวต้องย้ำยไปประจ�ำตำมโบสถ์ต่ำงๆ สมัยที่พวกเธอย้ำยไปประจ�ำที่โบสถ์ Thayaddy ในเมืองพะโค ลูกชำยของเธอถูกต้องสงสัย
จำกทำงกำรพม่ำ/เมียนมำร์ว่ำมีส่วนร่วมในขบวนกำรประท้วง ในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ เธอและสำมีคิดว่ำ ทำงกำรอำจจะบันทึกภำพลูกชำยใน
ช่วงที่เขำออกไปสังเกตกำรณ์กำรประท้วง หลังจำกนั้น ได้ให้ทหำรมำล้อมบ้ำนเพื่อขอให้ลูกชำยไปกับพวกเขำ แต่ลูกชำยของเธอได้ออก
ไปเยี่ยมเพื่อนพอดี เมื่อเขำรู้ข่ำวนี้ เขำจึงนั่งรถไฟไปอันเส็งเพื่อไปอยู่กับยำย และได้หนีไปประเทศมำเลเซีย ขณะที่ครอบครัวที่เหลืออยู่
ก็จ�ำเป็นต้องย้ำยหนีไปโบสถ์ Hlaing Thayar ใกล้เมืองย่ำงกุ้ง ในปี พ.ศ. ๒๕๔๖ ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมำ ครอบครัวนี้ถูกจับตำมองจำกเจ้ำหน้ำที่
รัฐตลอดเวลำ เจ้ำหน้ำที่รัฐจับได้ว่ำลูกสำวของเธอได้พยำยำมติดต่อกับลูกชำยที่หนีไป จึงท�ำให้ลูกสำวทั้งสองต้องหลบหนีอีก ขณะ
เดียวกันชำวบ้ำนก็จับตำครอบครัวเธอด้วย ในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ลูกชำยของเธอที่หนีไปมำเลเซียได้เขียนจดหมำยกลับมำหำเธอ ก่อนที่
เขำจะเดินทำงย้ำยไปตั้งถิ่นฐำนในประเทศสหรัฐอเมริกำ เขำก�ำชับให้ครอบครัวเมื่ออ่ำนจดหมำยนี้แล้วให้ “ท�ำลำยทิ้ง” แต่มิโชไม่ได้
ท�ำตำมค�ำแนะน�ำดังกล่ำว ด้วยควำมที่เธอกับลูกชำยไม่ได้ติดต่อกันนำนมำกแล้ว เธอจึงอยำกจะเก็บจดหมำยฉบับนี้เมื่อคิดถึงจะได้
อ่ำนทวนซ�้ำ เธอเอำจดหมำยฉบับนี้ใส่พลำสติกแล้วแขวนไว้เหนือประตูของโบสถ์ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๑ เกิดพำยุนำร์กิสเข้ำพัดท�ำลำยบ้ำน
เรือนชำวบ้ำนเสียหำยเป็นจ�ำนวนมำก เธอจึงเปิดให้ชำวบ้ำนบริเวณโดยรอบเข้ำมำหลบภัยที่โบสถ์ แต่ชำวบ้ำนคนหนึ่งได้เห็นจดหมำย
ของเธอและขโมยเอำไปแจ้งทำงกำร ท�ำให้เจ้ำหน้ำที่เรียกพวกเธอไปสอบสวน
ผู้ให้สัมภำษณ์บำงคนกล่ำวถึงกำรถูกเรียกไปสอบปำกค�ำหรือถูกสอบถำมถึงคนรู้จักหรือสมำชิกในครอบครัวที่เข้ำไป
เกี่ยวข้องกับกำรเมือง กรณีของมินท์มินท์ หญิงชำวกะเหรี่ยงผู้นับถือศำสนำอิสลำม อำยุ ๔๒ ปี เดินทำงเข้ำมำพักอำศัยในค่ำยผู้ลี้ภัย
บ้ำนแม่หละ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ให้สัมภำษณ์ว่ำในปี พ.ศ. ๒๕๓๑ ขณะที่อยู่ในเมืองเมำะตะมะ เธอได้เข้ำร่วมกำรประท้วงกับนักศึกษำ
ท�ำให้ชีวิตของเธอไม่ปลอดภัย หัวหน้ำหมู่บ้ำนจึงแนะน�ำให้เธอย้ำยไปอยู่ที่อื่น เธอจึงย้ำยไปอยู่ที่เมียวดี น้องสำวของเธอคนหนึ่งได้เดิน
ทำงไปท�ำงำนที่กรุงเทพฯ และได้แต่งงำนกับอดีตนักศึกษำชำวพม่ำ ทั้งสองย้ำยไปตั้งถิ่นฐำนยังประเทศสหรัฐอเมริกำในปี พ.ศ. ๒๕๔๔
ท�ำให้เธอติดต่อกับน้องสำวไม่ได้ ต่อมำ เธอได้ติดต่อน้องสำวได้อีกครั้งในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ น้องสำวได้ส่งเงินกลับมำสนับสนุนเธอ เธอจึง
ส่งซีดีเกี่ยวกับเพลงงำนเทศกำลสงกรำนต์ไปให้น้องสำว แต่ชำวบ้ำนในชุมชนของเธอเข้ำใจว่ำ เธอส่งซีดีเกี่ยวกับเพลงกำรเมืองหรือ
กิจกรรมกำรเมืองไปให้น้องสำว และน�ำเรื่องไปรำยงำนเจ้ำหน้ำที่ต�ำรวจ เธอรู้สึกกลัวมำกเพรำะเคยรับรู้เหตุกำรณ์ที่นำยแพทย์คนหนึ่ง
ถูกจับเข้ำห้องขังเป็นเวลำถึง ๕ ปี ด้วยข้อหำส่งซีดีไปให้ญำติในต่ำงประเทศ เมื่อต�ำรวจมำเรียกเธอไปสอบปำกค�ำ เธอแจ้งว่ำสำมี
ยังไม่อยู่และเธอขอเลื่อนเวลำไปพบตอนเย็นแทน พอตกเย็นทั้งครอบครัวได้หลบหนีออกมำ ตรงมำยังอ�ำเภอแม่สอด
ควำมรู้สึกถูกจับตำมอง ท�ำให้ผู้คนไม่สำมำรถด�ำเนินวิถีชีวิตตำมปกติได้ ผู้ให้สัมภำษณ์บำงคนเล่ำถึงกำรที่ต้อง
เปลี่ยนที่อยู่และที่ท�ำงำนหลำยครั้งเพื่อหลบเลี่ยงกำรถูกจับจ้อง เช่น กรณีของยำเลย์ซึ่งเป็นชำวพม่ำ อำยุ ๔๙ ปี กล่ำวว่ำเพรำะต้อง
ท�ำหน้ำที่เป็นคนส่งสำรและเงินระหว่ำงองค์กร NLD-LA ที่มีส�ำนักงำนอยู่ที่อ�ำเภอแม่สอดกับส�ำนักงำนในพม่ำ เขำจึงถูกสำยลับของ
ทหำรในหมู่บ้ำนกล่ำวหำว่ำติดต่อกับกบฏ เขำจึงพำครอบครัวย้ำยหนีมำยังเมืองย่ำงกุ้ง ในปี พ.ศ. ๒๕๓๙ ซึ่งคิดว่ำน่ำจะปลอดภัยแล้ว
แต่แล้วในปี พ.ศ. ๒๕๔๖ ขณะที่เขำก�ำลังขับมอเตอร์ไซค์รับจ้ำงในเมืองย่ำงกุ้ง เขำก็ได้พบเจอกับสำยลับจำกหมู่บ้ำนเดิมที่เดินทำงเข้ำ
มำประชุมในเมืองหลวง เขำจึงตัดสินใจพำครอบครัวหลบหนีอีกครั้ง
36 37
ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว