Page 42 - รายงานวิจัย เรื่อง ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว
P. 42
สถานการณ์ที่น�ามาสู่การอพยพและการตั้งค่ายผู้ลี้ภัย
ผู้ลี้ภัยกลับคืนสู่ถิ่นฐำน แต่ควำมพยำยำมในกำรส่งกลับก็ยังไม่เกิดขึ้นอย่ำงจริงจัง จนกระทั่งในปี พ.ศ. ๒๕๔๘ ที่ UNHCR ได้ด�ำเนินกำร
ส�ำรวจและขึ้นทะเบียนผู้ลี้ภัยเป็นครั้งแรก กำรขึ้นทะเบียนดังกล่ำว นอกจำกจะท�ำให้ทรำบจ�ำนวนที่แท้จริงของผู้ลี้ภัยที่พ�ำนักในค่ำย
ผู้ลี้ภัยแล้ว ยังมีเป้ำหมำยที่จะจ�ำแนกและคัดกรองผู้ที่ประสงค์จะเดินทำงไปประเทศที่สำม กำรขึ้นทะเบียนดังกล่ำวท�ำให้มีผลต่อกำร
เพิ่มจ�ำนวนของผู้ลี้ภัยในค่ำยผู้ลี้ภัยต่ำงๆ มำกขึ้นในระยะต่อมำ ดังนั้น จึงปรำกฏว่ำ จ�ำนวนผู้ลี้ภัยในทะเบียนของ UNHCR หรือของ
กระทรวงมหำดไทย ไม่ตรงกับจ�ำนวนผู้ลี้ภัยในค่ำยในปัจจุบัน ทั้งนี้ เพรำะมีผู้อพยพข้ำมพรมแดนเข้ำมำอยู่ค่ำยผู้ลี้ภัยเพิ่มขึ้นเป็น
จ�ำนวนมำก ด้วยเหตุผลที่แตกต่ำงไปจำกเดิม นั่นคือต้องกำรเดินทำงไปประเทศที่สำม หรืออพยพเข้ำมำฝั่งไทยเพื่อหำโอกำสในกำร
ท�ำงำน อันเนื่องมำจำกไม่สำมำรถท�ำมำหำกินในฝั่งพม่ำ/เมียนมำร์ได้ ถึงแม้หลำยคนจะไม่เป็นผู้ลี้ภัยจำกกำรสู้รบ แต่ก็เผชิญกับกำร
ถูกบีบบังคับให้เป็นทหำรของกองก�ำลัง หรือเป็นลูกหำบให้กองทัพพม่ำ หรือถูกเรียกเก็บภำษีจำกทหำรพม่ำ และกองก�ำลังถืออำวุธ
ชนกลุ่มน้อยด้วยกันเอง บำงกรณีก็เกิดควำมหวำดกลัวเนื่องจำกมีหน่วยทหำรพม่ำที่เข้ำมำพักในหรือใกล้หมู่บ้ำน จึงต้องอพยพหนีสภำวะ
ควำมหวำดกลัวดังกล่ำวมำฝั่งไทย หลำยกรณีเกิดจำกควำมหวำดกลัวลัทธิชำตินิยมทำงศำสนำอย่ำงสุดขั้วในประเทศพม่ำ/เมียนมำร์
คนเหล่ำนี้เคยได้รับควำมช่วยเหลือจำกญำติพี่น้อง หรือคนรู้จักเข้ำมำอำศัยในค่ำยผู้ลี้ภัยที่ไม่ได้มีรั้วรอบขอบชิดเท่ำใดนัก
นอกจำกนั้น ในระหว่ำงที่คณะผู้วิจัยเก็บข้อมูล พบว่ำมีเยำวชนอีกจ�ำนวนมำกที่เดินทำงเข้ำมำในค่ำยผู้ลี้ภัยเพื่อต้องกำรโอกำสทำงกำรศึกษำ
ที่ดีกว่ำในหมู่บ้ำนของตน ดังนั้น ผู้ลี้ภัยเหล่ำนี้มีควำมแตกต่ำงในด้ำนชำติพันธุ์ และศำสนำ เพรำะไม่ใช่เป็นกลุ่มกะเหรี่ยง หรือคะเรนนี
เหมือนในช่วงก่อนหน้ำนี้ที่กองทัพพม่ำปรำบปรำมกลุ่มชำติพันธุ์ทั้งสอง แต่เป็นกลุ่มชำติพันธุ์อื่น เช่น พม่ำ มอญ ฉิ่น คะฉิ่น ไทใหญ่
มุสลิม (รวมทั้งโรฮิงญำ) ฯลฯ ดังนั้น การจ�าแนกผู้ลี้ภัย โดยใช้มิติทางการเมืองเพียงด้านเดียว และก�าหนดว่าผู้ที่เข้ามาอยู่ในค่าย
ผู้ลี้ภัย หลังปี พ.ศ. ๒๕๔๘ ว่าถือว่ามีสถานะเป็นผู้ลี้ภัยนั้น ย่อมไม่ถูกต้องกับความเป็นจริงนัก ในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๔๓-๒๕๔๘ ถึงแม้
ว่ำกองก�ำลัง KNU และ KnPP จะไม่มีศักยภำพเหมือนเดิม แต่ก็ยังมีกำรปะทะหรือสู้รบกันอยู่เสมอ และมักจะเป็นกำรปะทะกันเพื่อ
แย่งชิงเส้นทำงกำรค้ำ หรือกำรครอบครองทรัพยำกร หรือเกิดจำกกำรละเมิดข้อตกลงหยุดยิง กรณีจะเป็นอย่ำงไรก็ตำม ประชำชนชำว
กะเหรี่ยงและคะเรนนี ต่ำงได้รับผลกระทบ และได้รับควำมเดือดร้อน จึงต้องอพยพหนีภัยข้ำมมำฝั่งไทยเช่นกัน
๗. การอพยพหนีภัยออกมาจากประเทศพม่า/เมียนมาร์ 11
กำรวิเครำะห์สถำนกำรณ์ทำงกำรเมืองและเศรษฐกิจที่เป็นเงื่อนไขของกำรอพยพหนีภัยของประชำชนจำกประเทศพม่ำ/
เมียนมำร์มำยังชำยแดนไทยข้ำงต้น น่ำจะท�ำให้เห็นลักษณะที่สลับซับซ้อนของสำเหตุของกำรอพยพหนีภัยได้พอสมควรแต่เพื่อให้ได้ยิน
“เสียง” ของผู้ลี้ภัยเหล่ำนี้ คณะผู้วิจัยได้สัมภำษณ์ผู้ลี้ภัยจ�ำนวน ๑๑๗ รำย จำกค่ำยผู้ลี้ภัยบ้ำนแม่หละ ซึ่งเป็นค่ำยผู้ลี้ภัยที่มีจ�ำนวน
ประชำกรผู้ลี้ภัยมำกที่สุด กำรสัมภำษณ์ดังกล่ำวพบว่ำสำเหตุประกำรส�ำคัญที่ผู้ให้สัมภำษณ์ส่วนใหญ่กล่ำวถึงว่ำเป็นสำเหตุที่ผลักดัน
ให้ต้องเดินทำงออกจำกประเทศพม่ำ/เมียนมำร์เป็นล�ำดับแรก คือ กำรเป็นผู้ได้รับผลกระทบจำกควำมขัดแย้งและกำรสู้รบในพื้นที่
(ร้อยละ ๕๗.๒๖) ขณะที่กำรมีส่วนร่วมหรือกำรมีควำมสัมพันธ์กับนักเคลื่อนไหวทำงกำรเมืองหรือกองก�ำลังถืออำวุธชนกลุ่มน้อย
เป็นสำเหตุที่มีควำมส�ำคัญรองลงมำ (ร้อยละ ๑๘.๘๐) กำรประสบผลกระทบทำงเศรษฐกิจ (ร้อยละ ๑๕.๓๘) และสำเหตุอื่นๆ นอกเหนือ
จำกสำมสำเหตุข้ำงต้น เช่น กำรแสวงหำกำรสนับสนุนด้ำนกำรศึกษำ สำธำรณสุข ฯลฯ (ร้อยละ ๘.๕๔) เป็นสำเหตุล�ำดับรองถัดลงมำ
11
ข้อมูลในหัวข้อนี้ เป็นข้อมูลสนำมจำกพื้นที่ค่ำยผู้ลี้ภัยบ้ำนแม่หละ ซึ่งรวบรวมโดย ดร.เดชำ ตั้งสีฟ้ำ และคณะ (ประกอบด้วย ๑. นำยสันติสุข ๒. นำยไอรี
๓. นำงสำวนฤมล ๔. นำงสำว Spring Song ๕. นำงสำว Aye Thandar Aung ๖. นำงสำวYoon Htar Aein ๗. นำงสำวลีลำ วรวุฒิสุนทร ๘. นำงสำวปภัสสร มิสำ
๙. นำยกฤษณะ มณฑำทิพย์ ๑๐. นำงสำวเพียรผจง อินตะรัตน์ ๑๑. นำงสำวนฤมล เตือนภักดี ๑๒. นำงสำวนวลปรำงค์ ขันติยศ)
28 29
ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว