Page 51 - รายงานวิจัย เรื่อง ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว
P. 51

บทที่ ๒





                              ๓.๒ ผลกระทบทางเศรษฐกิจที่เป็นผลสืบเนื่องมาจากนโยบายและข้อกฎหมายของรัฐ
                                  ผู้ให้สัมภำษณ์ในกลุ่มนี้ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มคนที่มีสถำนภำพทำงเศรษฐกิจและสังคมที่ดีกว่ำ โดยเปรียบเทียบ

               กับกลุ่มคนในข้อแรก เช่น ระดับกำรศึกษำและทักษะในกำรประกอบชีวิตหำเลี้ยงชีพ เป็นต้น อย่ำงไรก็ดี ด้วยนโยบำยและข้อกฎหมำย
               ของรัฐบำงประกำร ท�ำให้พวกเขำประสบอุปสรรคในกำรด�ำเนินชีวิต และต้องแสวงหำหนทำงอื่นๆ ในกำรจัดกำรอุปสรรคดังกล่ำว เช่น

               กำรเดินทำงออกมำเพื่อแสวงหำงำนในพื้นที่ฝั่งไทย เป็นต้น ตัวอย่ำงกรณีของดำร์ซี่ หญิงชำวกะเหรี่ยงโปว์ อำยุ ๕๗ ปี ผู้เดินทำง
               มำยังค่ำยผู้ลี้ภัยบ้ำนแม่หละ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ เธอเล่ำว่ำในปี พ.ศ. ๒๕๒๕ ขณะที่พวกเธอยังใช้ชีวิตอยู่ในย่ำงกุ้งโดยกำรเปิดร้ำนน�้ำชำ
               และสำมีเธอขับมอเตอร์ไซค์รับจ้ำง รัฐบำลพม่ำ/เมียนมำร์ได้เปลี่ยนระบบเงินตรำโดยยกเลิกธนบัตรเก่ำอัน ได้แก่ ธนบัตร ๗๕ ๔๕

               และ ๓๕ จ๊ำด โดยประกำศให้ประชำชนน�ำเงินไปเปลี่ยนเป็นเงินรูปแบบใหม่ภำยในเวลำหนึ่งสัปดำห์ หำกไปยื่นเรื่องหลังจำกช่วงเวลำนั้น
               จะไม่ได้เงินคืนเลยและแม้แต่ยื่นเรื่องในช่วงเวลำนั้นก็ใช้เวลำช้ำมำกกว่ำจะได้เงินคืน  เงินเก็บทั้งหมดที่ครอบครัวมี  คือ  ๑๐๐,๐๐๐  จ๊ำด
               แต่เมื่อไปแลกกลับมำพวกเธอเหลือเงินอยู่เพียง ๑๐,๐๐๐ จ๊ำดเท่ำนั้น “ไม่มีเงินแล้ว” เธอกล่ำว หลังจำกนั้นครอบครัวเธอได้ย้ำยไปยัง

               พะอัน ซึ่งน้องสำวเธออำศัยอยู่ที่นั่นและเปิดร้ำนน�้ำชำอีกครั้ง
                                  แม้กิจกำรในช่วงแรกจะเป็นไปได้ด้วยดี แต่หลังจำกปี พ.ศ. ๒๕๔๗ กิจกำรก็เริ่มซบเซำอีกทั้งต้องจ่ำยภำษี
               จ�ำนวนมำกแก่รัฐ  เช่น  ภำษีค่ำขยะให้เทศบำลพะอัน  จ่ำยภำษีป้ำย  ภำษีรำยเดือนและรำยปีแก่รัฐบำล  รวมถึงยังต้องไปใช้แรงงำนฟรี

               ให้แก่รัฐบำลด้วย ด้วยรำยได้ที่ไม่พอแต่มีรำยจ่ำยที่มำก เธอจึงตัดสินใจเดินทำงออกมำจำกพะอัน ในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ โดยตั้งใจว่ำจะไป
               ท�ำงำนที่กรุงเทพฯ  เพื่อส่งเงินให้ครอบครัว  แต่ประเทศไทยก็ประสบกับรัฐประหำรในเวลำนั้น  มีด่ำนตรวจเช็คคนจำกแม่สอดไปกรุงเทพฯ

               ถี่ขึ้น ท�ำให้เธอจ�ำต้องหยุดอยู่ที่แม่สอดและได้รับค�ำแนะน�ำให้เดินทำงไปยังค่ำยผู้ลี้ภัยบ้ำนแม่หละแทน
                                  หนึ่งในนโยบำยและข้อกฎหมำยของรัฐที่เป็นอุปสรรคต่อกำรด�ำเนินชีวิตของผู้คนที่วำงอยู่บนฐำนของชำติพันธุ์
               และศำสนำ เช่น กรณีของอำลี ชำวโรฮิงญำและฮุสเซ็นผู้นับถือศำสนำอิสลำม อำลี ชำวโรฮิงญำ อำยุ ๒๗  ปี เดินทำงเข้ำมำพักอำศัย

               ในค่ำยผู้ลี้ภัยบ้ำนแม่หละ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๓ อำลีเกิดและเติบโตในหมู่บ้ำน Bu The Taung ซึ่งตั้งอยู่ในรัฐอำระกัน เขำเล่ำว่ำ
               รัฐมนตรีว่ำกำรกำรศึกษำของรัฐอำระกันก็ไม่ยอมให้ชำวโรฮิงญำเรียนต่อระดับสูงกว่ำมัธยมปลำย แม้แต่นักเรียนชำวโรฮิงญำที่ตั้งใจเรียน

               อย่ำงหนักก็ถูกกลั่นแกล้งให้สอบไม่ผ่ำน  หรือแม้พวกเขำจะสอบผ่ำนออกมำก็ต้องเผชิญกับปัญหำกำรไม่มีงำนท�ำ  พวกเขำไม่สำมำรถ
               เดินทำงออกไปหำงำนได้  ไม่สำมำรถเปิดกิจกำรค้ำขำย  อำลีจบกำรศึกษำเกรด  ๑๐  จำกหมู่บ้ำน  เขำไม่ได้เรียนต่อ  เนื่องจำกครอบครัว
               ของเขำนั้นไม่สำมำรถประกอบอำชีพได้ ดังนั้น ไม่มีเงินส่งเสียให้เขำเรียนต่อ เขำจึงตัดสินใจเดินทำงออกมำนอกหมู่บ้ำนเพื่อหำงำนท�ำ

               และส่งเสียครอบครัว
                                  อีกกรณีหนึ่งคือ ฮุสเซ็น อำยุ ๔๙ ปี เดินทำงมำถึงค่ำยผู้ลี้ภัยบ้ำนแม่หละในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ เขำเกิดในชุมชน
               ชื่อ Juan Chang Kon ซึ่งตั้งอยู่ในเมืองเมำะล�ำไย รัฐมอญ เขำเคยมีบัตรประจ�ำตัวประชำชนพม่ำแต่บัตรได้หมดอำยุไปและไม่สำมำรถ

               ต่อใหม่ได้ เมื่อเขำอำยุได้ ๒๕ ปี ได้เกิดควำมขัดแย้งระหว่ำงชำวมุสลิมและชำวพม่ำ หลังจำกเหตุกำรณ์นั้น เขำไม่ได้รับกำรต่ออำยุ
               บัตรประชำชนอีก  ผลของควำมขัดแย้งท�ำให้เขำประสบปัญหำในกำรด�ำเนินชีวิตมำโดยตลอด  เขำประกอบอำชีพซ่อมรถและยังท�ำอำชีพ
               วิ่งรถส่งของเส้นทำงสำยเมำะล�ำไย-พะอัน-เมียวดี เขำเล่ำว่ำทุกครั้งที่ผ่ำนด่ำนตรวจโดย DKBA เมื่อเห็นคนมุสลิมขับรถและท�ำงำนก็จะ

               เรียกมำซักถำม ท�ำให้เขำไม่สำมำรถท�ำงำนได้ ดังนั้น ในเดือนมีนำคม ปี พ.ศ. ๒๕๔๙ เขำจึงตัดสินใจเดินทำงออกมำจำกบ้ำนเกิดของตน
               พร้อมกับครอบครัว


                           ๔. สาเหตุอื่นๆ

                              นอกเหนือจำก ๓ สำเหตุหลักข้ำงต้นที่เป็นปัจจัยผลักดันให้ผู้คนเดินทำงออกมำจำกประเทศพม่ำ/เมียนมำร์ยังมี ๑๐ คน
               จำกจ�ำนวนผู้ให้สัมภำษณ์ที่เป็นผู้พักอำศัยในค่ำยผู้ลี้ภัย ๑๑๗ คน หรือคิดเป็นร้อยละ ๘.๕๔ เป็นสำเหตุที่มำจำกกำรแสวงหำชีวิตที่ดี
               และยกระดับคุณภำพชีวิตเป็นหลัก รวมถึงสำเหตุนอกเหนือจำกนั้น เช่น ปัญหำข้อขัดแย้งส่วนตัว เป็นต้น แม้สำเหตุเหล่ำนี้จะดู

               กระจัดกระจำยและไม่เกี่ยวข้องกัน แต่เมื่อพิจำรณำโดยละเอียดแล้วเป็นผลสืบเนื่องมำจำกควำมขัดแย้งและสถำนกำรณ์ควำมไม่สงบ


             38                                                                                                                                                                                                                             39
             ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว                                                                                                                           ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56