Page 45 - รายงานวิจัย เรื่อง ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว
P. 45
บทที่ ๒
นอกจำกควำมเสี่ยงจำกสภำพแวดล้อมของพื้นที่ที่ต้องเดินทำงเข้ำไปแล้ว ลูกหำบยังเสี่ยงต่อกำรถูกกระท�ำ
ควำมรุนแรงจำกนำยทหำร ลูกหำบที่บำดเจ็บหรือเหน็ดเหนื่อยไม่ได้รับอนุญำตให้พัก ไม่ได้รับสำรอำหำรที่เพียงพอ และในกรณีที่
เลวร้ำยที่สุด หำกพวกเขำไม่สำมำรถขนของไปต่อได้ก็จะถูกฆ่ำ เช่นเรื่องเล่ำของซำยำเต็งโค ชำวกะเหรี่ยง อำยุ ๔๗ ปี เป็นครูสอน
ศำสนำอิสลำมที่ถูกจับตัวไปเป็นลูกหำบ ได้เข้ำมำพักอำศัยในค่ำยผู้ลี้ภัยบ้ำนแม่หละในปี พ.ศ. ๒๕๓๘ เขำเล่ำว่ำ ในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๓๕-
๒๕๓๗ นั้น สถำนกำรณ์ควำมขัดแย้งในเมือง Hliang Bwe ที่เขำพักอำศัยและสอนศำสนำอยู่นั้นมีควำมรุนแรงอย่ำงมำก ทหำรพม่ำเข้ำ
มำในเมือง และบังคับเกณฑ์ชำวบ้ำนไปเป็นลูกหำบและรีดภำษี ในวันที่ ๑๗ มกรำคม พ.ศ. ๒๕๓๗ ซำยำเต็งโคถูกทหำรจับขณะที่เขำ
ก�ำลังเดินทำงกลับจำกมัสยิด ซำยำเต็งโคต้องร่วมเดินทำงไปกับกองก�ำลังพม่ำและกลุ่มลูกหำบอีก ๗ คน โดยท�ำหน้ำที่แบกเสบียงและ
ยุทโธปกรณ์ให้นำยพลนำยหนึ่ง
ช่วงเวลำที่เป็นลูกหำบ เขำได้เห็นกำรต่อสู้ ๒ ครั้ง กำรต่อสู้ครั้งแรก มีลูกหำบบำงคนบำดเจ็บและเดินทำงต่อ
ไม่ได้ ทหำรได้ตัดแขนตัดขำลูกหำบ แต่ลูกหำบเหล่ำนั้นยังมีชีวิตอยู่จนกระทั่งทหำรชักปืนมำยิงพวกเขำจนตำย ในกำรต่อสู้ครั้งที่ ๒ ซึ่ง
เกิดขึ้นประมำณสิบโมงเช้ำและใช้เวลำสู้กันประมำณ ๑๗ นำที เขำถูกอำวุธหนักยิงที่ขำ นำยพลเข้ำมำถำมเขำว่ำ เขำสำมำรถขนของต่อ
ได้หรือไม่ เขำบอกกับนำยพลว่ำ เขำคงไม่สำมำรถเดินทำงต่อได้ แต่นำยพลบอกว่ำเขำต้องเดินทำงต่อให้ได้ ไม่เช่นนั้นพลทหำรจะยิงเขำ
ให้ตำยที่นี่ ซำยำเต็งโคหวนระลึกถึงเหตุกำรณ์ที่เพื่อนลูกหำบถูกฆ่ำในกำรปะทะครั้งแรก เขำจึงคิดว่ำเขำต้องไหว นำยพลมอบเสื้อเก่ำให้
แก่เขำ เขำเอำมันมำพันขำเพื่อห้ำมเลือด หำไม้มำดำมและพยำยำมเดินทำงต่อ
กำรเดินทำงต่อจำกนั้นคือ กำรเดินลงจำกภูเขำ เมื่อพวกเขำมำถึงเชิงเขำ ซำยำเต็งโคได้ขอร้องให้นำยพลปล่อยตัว
เขำอีกครั้งเพรำะเขำคงไม่สำมำรถแบกของเดินทำงต่อได้ กำรเดินทำงต่อไปจะต้องปีนภูเขำอีกลูก นำยพลตกลงกันว่ำ นำยพลจะปล่อย
ให้เขำหนีไปแต่เขำต้องหนีด้วยตัวเองและห้ำมเอ่ยปำกบอกใคร ต่อมำ เขำได้พบช่องทำงหนีระหว่ำงที่ถูกสั่งให้ไปตักน�้ำในแม่น�้ำสำยหนึ่ง
ขณะที่ลูกหำบและพลทหำรคนอื่นอยู่ห่ำงออกไป เขำส�ำรวจแม่น�้ำและพบว่ำแม่น�้ำลึกแค่เข่ำ จึงทิ้งตัวลงแม่น�้ำและปล่อยให้แม่น�้ำพัดพำ
เขำหนีลอยไปกับสำยน�้ำและขึ้นฝั่งอีกครั้งตอนประมำณบ่ำยสองโมงของวันนั้น
แม้ชำวบ้ำนจะมีชีวิตรอดและสำมำรถเดินทำงกลับมำยังหมู่บ้ำนของตนได้อีกครั้ง แต่กำรถูกบังคับเกณฑ์
แรงงำนไปเป็นลูกหำบก็ยังส่งผลกระทบตำมมำได้ เช่น ก่อให้เกิดควำมเจ็บป่วยเรื้อรัง ซึ่งผู้ให้สัมภำษณ์สันนิษฐำนว่ำเกิดจำกกำรที่
พวกเขำถูกใช้แรงงำนในตอนไปเป็นลูกหำบ เป็นต้น ตัวอย่ำงเช่นเรื่องรำวของเมียวมินท์ หญิงชำวมุสลิมวัย ๓๐ ปี ผู้เข้ำมำพักอำศัยใน
ค่ำยผู้ลี้ภัยบ้ำนแม่หละในปี พ.ศ. ๒๕๔๘ ได้ให้สัมภำษณ์ถึงกำรที่พ่อของเธอได้เสียชีวิตหลังจำกถูกเกณฑ์ไปเป็นลูกหำบว่ำ ในหมู่บ้ำน
ของเธอชื่อ Ta Kyat Po อ�ำเภอ Hlaing Bwe มีกำรสู้รบระหว่ำงกองก�ำลังพม่ำกับกองก�ำลัง KNU ทั้งผู้หญิงและผู้ชำยต่ำงถูกเกณฑ์ไป
เป็นลูกหำบให้แก่กองก�ำลังพม่ำ พ่อของเธอก็ถูกเกณฑ์ให้ไปเป็นลูกหำบประมำณ ๖ เดือน เธอเล่ำว่ำ หลังจำกนั้นพ่อของเธอก็กลับมำ
ด้วยอำกำรเจ็บป่วยอย่ำงหนักที่ปอด อำกำรของพ่อเธอทรุดลงเรื่อยๆ เขำมีชีวิตอยู่ต่ออีกประมำณ ๔-๕ ปี จึงเสียชีวิตลง
ผู้ให้สัมภำษณ์หลำยคนที่มีประสบกำรณ์กำรถูกเกณฑ์ไปเป็นลูกหำบถูกบังคับเกณฑ์แรงงำนมำกกว่ำหนึ่งครั้ง
บำงคนได้กล่ำวว่ำถูกเกณฑ์ไปเป็นลูกหำบมำกครั้งจนไม่สำมำรถจดจ�ำได้ กำรถูกบังคับเกณฑ์ไปเป็นลูกหำบจึงส่งผลกระทบต่อ
วิถีชีวิตของชำวบ้ำนที่มีอำชีพส่วนใหญ่เป็นชำวนำ ท�ำให้ไม่สำมำรถประกอบอำชีพเลี้ยงตนเองได้ต่อเนื่อง ตัวอย่ำงเช่น กรณีของเยทู
ชำยชำวกะเหรี่ยงสกอร์ อำยุ ๔๓ ปี เกิดและอำศัยอยู่ในหมู่บ้ำน Inn Noe The Pan อ�ำเภอ Hlaing Bwe รัฐกะเหรี่ยง เมื่ออำยุ ๑๖ ปี
ทหำรพม่ำได้เข้ำมำเกณฑ์ชำวบ้ำนไปเป็นลูกหำบ บำงครั้งเขำต้องเป็นลูกหำบ บำงครั้งหนีเข้ำป่ำบ้ำง เขำเล่ำว่ำต้องผ่ำนประสบกำรณ์
วนเวียนแบบนี้มำกมำยเกินที่จะจดจ�ำได้ สถำนกำรณ์ดังกล่ำวท�ำให้เขำไม่มีเวลำท�ำมำหำกินเพำะปลูก จึงตัดสินใจเดินทำงออกมำจำก
หมู่บ้ำนเพื่อไปแสวงหำชีวิตที่ดีกว่ำในพื้นที่อื่นๆ
เนื่องด้วยผลกระทบที่จะตำมมำทั้งต่อร่ำงกำยและกำรด�ำรงชีวิต ท�ำให้ครอบครัวของผู้ให้สัมภำษณ์บำงคนที่
มีควำมสำมำรถในกำรจ่ำยเงิน เลือกที่จะจ่ำยเงินเพื่อว่ำจ้ำงให้ชำวบ้ำนคนอื่นไปท�ำหน้ำที่เป็นลูกหำบแทนตนเองหรือสมำชิกของ
ครอบครัวอย่ำงไรก็ดี ผู้ให้สัมภำษณ์ส่วนใหญ่ไม่มีควำมสำมำรถที่จะจ่ำยค่ำจ้ำงได้ ท�ำให้พวกเขำไม่สำมำรถหลีกเลี่ยงกำรไปเป็นลูกหำบได้
32 33
ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว