Page 41 - รายงานวิจัย เรื่อง ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว
P. 41

บทที่ ๒





               ก้ำวล่วงอธิปไตยของพม่ำ/เมียนมำร์ และมีควำมหวำดระแวงประเทศไทยจนถึงกับตัดควำมร่วมมือทำงเศรษฐกิจกับไทย งดกำรให้
               สัมปทำนกำรท�ำประมงแก่เรือประมงไทย  หลังจำกเหตุกำรณ์นี้ไม่นำน  ก็เกิดกรณี  God’s  Army  บุกยึดโรงพยำบำลรำชบุรี  ในเดือน

               มกรำคม ๒๕๔๓ เพื่อเรียกร้องให้รัฐบำลไทยช่วยเหลือกลุ่มกะเหรี่ยงที่ถูกทหำรพม่ำโจมตี เป็นที่น่ำสนใจว่ำ ในเหตุกำรณ์ครั้งนี้ท่ำทีของ
               รัฐบำลไทยในกำรจัดกำรกับปัญหำแตกต่ำงไปอย่ำงสิ้นเชิงกับกรณีนักศึกษำพม่ำบุกยึดสถำนทูต อำจจะเป็นไปได้ที่ฝ่ำยไทยเกรงว่ำ
               จะมีปัญหำควำมสัมพันธ์ไทย-พม่ำ/เมียนมำร์มำกยิ่งขึ้น  รัฐบำลไทยได้เพิ่มควำมเข้มงวดในกำรดูแลผู้ลี้ภัยในค่ำยผู้ลี้ภัยต่ำงๆ  และเพิ่ม

               ควำมระมัดระวังในบริเวณชำยแดนมำกขึ้น  ในขณะที่มีกำรสู้รบระหว่ำงกองทัพพม่ำและกองก�ำลังถืออำวุธชนกลุ่มน้อย  ทั้งมอญและ
               กะเหรี่ยง พร้อมกับเริ่มหำรือกับ UNHCR ในกำรหำแนวทำงในกำรส่งผู้ลี้ภัยกลับคืนสู่ถิ่นฐำนในประเทศพม่ำ/เมียนมำร์ และรับประกัน
               ควำมปลอดภัยของคนเหล่ำนี้  แต่กำรด�ำเนินกำรดังกล่ำวย่อมต้องอำศัยควำมยินยอมร่วมมือของรัฐบำลพม่ำ/เมียนมำร์  ซึ่งยังไม่สำมำรถ

               เป็นไปได้ เนื่องจำกยังไม่มีกำรเจรจำหยุดยิงระหว่ำงรัฐบำลพม่ำ/เมียนมำร์กับกองก�ำลัง KNU และ KnPP แต่ที่ส�ำคัญก็คือ รัฐบำลพม่ำ/
               เมียนมำร์ เชื่อว่ำกองก�ำลังถืออำวุธชนกลุ่มน้อยดังกล่ำวอำศัยพื้นที่ในค่ำยผู้ลี้ภัยเป็นพื้นที่พ�ำนักอำศัย และถือว่ำเป็น “กลุ่มก่อกำรร้ำย”

               จึงไม่รับกลับพม่ำ/เมียนมำร์ หำกไม่ยอมจ�ำนนมอบตัวกับรัฐบำล
                           ในปี  พ.ศ.  ๒๕๔๑  มีกำรเปลี่ยนแปลงนโยบำยของรัฐบำลไทยต่อพม่ำ/เมียนมำร์  และต่อชนกลุ่มน้อยตำมชำยแดน
               ไทย-พม่ำ/เมียนมำร์ที่ควรได้กล่ำวถึง นั่นคือ รัฐบำลไทยให้ควำมส�ำคัญต่อกำรทูตเชิงรุกด้ำนเศรษฐกิจและกำรฟื้นฟูควำมสัมพันธ์

               ระหว่ำงประเทศ  จึงประกำศยกเลิก  “รัฐกันชน”  เพรำะเห็นว่ำนโยบำยดังกล่ำวมีนัยต่อกำรสนับสนุนชนกลุ่มน้อยบริเวณชำยแดน
                              10
               ไทย-พม่ำ/เมียนมำร์  อย่ำงไรก็ดี ในช่วงเวลำนั้น กองก�ำลัง KNU และ KnPP ต่ำงก็อ่อนก�ำลังและขำดศักยภำพที่จะเอำชนะกองทัพ
               พม่ำได้ เพรำะขำดทั้งก�ำลังคนและอำวุธที่ทันสมัย กองทัพพม่ำกลับสำมำรถคุมพื้นที่ไว้ได้เกือบหมด ดังนั้น กองก�ำลังถืออำวุธชนกลุ่ม
               น้อยจึงไม่มีบทบำทในฐำนะเป็น “รัฐกันชน” ให้แก่ฝ่ำยไทยได้เหมือนที่เคยเป็นในอดีต



                      ๖. การเปลี่ยนแปลงลักษณะการอพยพลี้ภัย



                          ตลอดเวลำที่รัฐบำลพม่ำ/เมียนมำร์    ได้ปรำบปรำมกองก�ำลังถืออำวุธชนกลุ่มน้อย  จนท�ำให้มีผู้หนีภัยกำรสู้รบเข้ำมำอยู่

               ในค่ำยผู้ลี้ภัยตำมแนวชำยแดนไทยเป็นอย่ำงมำก ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๗ เป็นต้นมำ ท�ำให้เกิดควำมเดือดร้อนอย่ำงสำหัสแก่ชำวบ้ำน
               ที่เป็นพลเรือน หรือสมำชิกครอบครัวที่เป็นสมำชิกกองก�ำลังถืออำวุธชนกลุ่มน้อย รัฐบำลไทยได้มีนโยบำยให้ควำมช่วยเหลือด้ำน
               มนุษยธรรมมำโดยตลอด ทั้งๆ ที่รัฐบำลไทยไม่ได้เข้ำร่วมภำคีอนุสัญญำว่ำด้วยสถำนภำพผู้ลี้ภัย ค.ศ. ๑๙๕๑ ในขณะเดียวกัน รัฐบำลไทย

               ได้อนุญำตให้องค์กรเอกชนระหว่ำงประเทศเป็นจ�ำนวนมำกเข้ำมำให้กำรสงเครำะห์ช่วยเหลือในด้ำนต่ำงๆ เช่น กำรรักษำพยำบำล
               กำรศึกษำ  กำรปันส่วนอำหำร  กำรก่อสร้ำงและซ่อมแซมค่ำยผู้ลี้ภัย  องค์กรเหล่ำนี้  ได้แก่  UNHCR  TBC  IRC  องค์กำรแพทย์
               ไร้พรมแดน (Médecins Sans Frontières: MSF) ฯลฯ นอกจำกนั้น ยังมีองค์กรที่จัดตั้งขึ้นโดยควำมช่วยเหลือขององค์กรทำงศำสนำ

               Karen  Christian  Relief  Committee  ซึ่งต่อมำเรียกตัวเองว่ำ  Karen  Refugees  Committee  (KRC)  ท�ำหน้ำที่ดูแลผู้ลี้ภัย
               ที่อยู่ในค่ำยผู้ลี้ภัยที่มีชำวกะเหรี่ยงอำศัยอยู่เป็นจ�ำนวนมำก  ในกรณีของผู้ลี้ภัยที่มำจำกรัฐคะยำห์หรือรัฐคะเรนนี  ก็มีองค์กรที่ท�ำหน้ำที่

               คล้ำยกัน คือ KnRC องค์กรเหล่ำนี้ต่ำงมีบทบำทส�ำคัญในกำรให้ควำมช่วยเหลือในด้ำนต่ำงๆ แก่ผู้ลี้ภัย รวมทั้งประสำนงำนกับองค์กำร
               นำนำชำติและเจ้ำหน้ำที่กระทรวงมหำดไทยที่เป็นผู้ก�ำกับดูแลค่ำยผู้ลี้ภัย  ทั้งฝ่ำยรัฐบำลไทย  และ  UNHCR  ยังท�ำหน้ำที่หำลู่ทำงเตรียมส่ง






                       10
                         เพิ่งอ้ำง, หน้ำ ๑๒๔






             28                                                                                                                                                                                                                             29
             ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว                                                                                                                           ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46