Page 40 - รายงานวิจัย เรื่อง ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว
P. 40
สถานการณ์ที่น�ามาสู่การอพยพและการตั้งค่ายผู้ลี้ภัย
ผลประโยชน์ในกำรให้สัมปทำนกำรค้ำไม้สักให้แก่บริษัทต่ำงชำติ รัฐบำลพม่ำ/เมียนมำร์ส่งกองก�ำลังโจมตีกองก�ำลังของ KnPP และ
สำมำรถยึดเส้นทำงเข้ำออกระหว่ำงชำยแดนไทย-พม่ำ/เมียนมำร์ และเขตอิทธิพลของคะเรนนีได้ มีกำรลงนำมหยุดยิงระหว่ำงรัฐบำล
พม่ำ/เมียนมำร์และ KnPP ในปี พ.ศ. ๒๕๓๘ แต่ยกเลิก อีก ๓ เดือนถัดมำ มีกำรสู้รบระหว่ำงกองก�ำลังทั้งสอง ท�ำให้ประชำชนในรัฐ
คะยำห์อพยพทะลักมำสู่ประเทศไทย รัฐบำลไทยจึงจัดตั้งค่ำยผู้ลี้ภัยบ้ำนใหม่ในสอย ต�ำบลปำงหมู อ�ำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ในปี
พ.ศ. ๒๕๓๘
ส�ำหรับพื้นที่ในเขตมะริด/ทวำย ซึ่งเป็นที่ตั้งของกองก�ำลัง KNU กองพลที่ ๔ ที่เข้มแข็ง กองทัพพม่ำส่งทหำรพม่ำจ�ำนวน
๙,๐๐๐ คน เข้ำโจมตีจนสำมำรถเอำชนะเหนือกองก�ำลัง KNU ได้ ท�ำให้ประชำชนอพยพหนีเข้ำมำในเขตไทย บริเวณบ้ำนบ้องตี้
อ�ำเภอไทรโยค จังหวัดกำญจนบุรีและบ้ำนขะมิ้ว ต�ำบลสองพี่น้อง อ�ำเภอท่ำแซะ จังหวัดชุมพร ฝ่ำยไทยพยำยำมส่งก�ำลังทหำรและต�ำรวจ
ตระเวนชำยแดนเข้ำไปตรึงก�ำลัง ควบคุมพื้นที่ชำยแดนบำงแห่ง เมื่อมีกำรอพยพหนีภัยเข้ำมำ ฝ่ำยไทยได้ให้ควำมช่วยเหลือตำมหลัก
มนุษยธรรม โดยเฉพำะเด็ก สตรี และคนชรำ และมีกำรส่งผู้ลี้ภัยชำวมอญกลับใน ปี พ.ศ. ๒๕๓๙ แต่ก็มีข้อกังขำว่ำเป็นกำรเดินทำงกลับ
ด้วยควำมสมัครใจหรือไม่ในสำยตำขององค์กรเอกชนระหว่ำงประเทศด้ำนผู้ลี้ภัย
๕. บทบาทของส�านักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ
ในช่วงปลำยทศวรรษ ๑๙๙๐ รัฐบำลพม่ำ/เมียนมำร์ยังส่งกองก�ำลังเข้ำมำปรำบปรำมกองก�ำลังของกะเหรี่ยง
อย่ำงต่อเนื่อง รวมทั้งอำศัยกองก�ำลัง DKBA ลอบเข้ำมำโจมตีหมู่บ้ำนชำยแดนไทยในอ�ำเภอแม่สอด แม่ระมำด ท่ำสองยำง อุ้มผำง
โดยอ้ำงว่ำทหำรของกองก�ำลัง KNU เข้ำมำหลบซ่อนในที่พักพิงในเขตไทย ท�ำให้ฝ่ำยรัฐบำลไทยเห็นว่ำควรจะย้ำยที่พักพิงลึกเข้ำมำ
ในเขตไทยเพื่อควำมปลอดภัยมำกขึ้น และได้จัดตั้งค่ำยผู้ลี้ภัยบ้ำนนุโพ ห่ำงจำกชำยแดนไทย-พม่ำ/เมียนมำร์ ประมำณ ๑๓ กิโลเมตร
ในช่วงนั้น มีผู้ลี้ภัยประมำณ ๖๐,๐๐๐ คน ในค่ำยผู้ลี้ภัยในจังหวัดตำก และกระจัดกระจำยตำมชำยแดนอีกประมำณ ๕,๐๐๐-๖,๐๐๐ คน
นอกจำกนั้น ยังมีผู้ลี้ภัยที่หนีกำรโจมตีจำกทหำรพม่ำเข้ำมำพักที่บ้ำนพุน�้ำร้อน ๒,๓๐๐ คน แต่ฝ่ำยไทยยอมรับเฉพำะคนชรำ ผู้หญิง
และเด็ก ทั้งนี้ เพื่อไม่ให้ฝ่ำยพม่ำ/เมียนมำร์เข้ำใจว่ำไทยสนับสนุนกำรสู้รบของกะเหรี่ยง ทั้งๆ ที่ฝ่ำยพม่ำปรำบปรำมชำวบ้ำนที่เป็น
8
ชำวไร่ชำวนำอย่ำงโหดเหี้ยม หญิงสำวในหมู่บ้ำนถูกทหำรของกองทัพพม่ำฉุดไปข่มขืนและฆ่ำทิ้ง ในชำยแดนด้ำนจังหวัดแม่ฮ่องสอน
ทหำรพม่ำและกองก�ำลัง DKBA ได้โจมตีฐำนที่มั่นของกองก�ำลัง KnPP รัฐบำลไทยจึงจัดที่พักพิงชั่วครำวให้กับกลุ่มกะเหรี่ยงในเขต
อ�ำเภอแม่สะเรียง และสบเมย อีก ๒ แห่ง ทั้งนี้เพรำะกองก�ำลัง DKBA ต้องกำรจะน�ำผู้หนีภัยที่อยู่ในพื้นที่ทั้งสองกลับไปฝั่งพม่ำ/เมียนมำร์
ในปลำยทศวรรษ ๑๙๙๐ มีเหตุกำรณ์ส�ำคัญเกิดขึ้นที่ท�ำให้มีกำรเปลี่ยนแปลงนโยบำยของรัฐบำลไทยในกำรดูแลผู้ลี้ภัย
จำกกำรสู้รบ และนโยบำยกำรส่งผู้ลี้ภัยกลับเมื่อคำดว่ำสถำนกำรณ์กำรสู้รบสงบลง กองก�ำลัง DKBA ยังลอบข้ำมแม่น�้ำเมยเข้ำโจมตีและ
เผำบ้ำนเรือนของผู้ลี้ภัย ท�ำให้ผู้ลี้ภัยไร้ที่อยู่ สถำนกำรณ์ที่เป็นภัยอย่ำงรุนแรงต่อผู้ลี้ภัย และมีจ�ำนวนผู้ลี้ภัยเพิ่มมำกขึ้น ท�ำให้
รัฐบำลไทยยินยอมให้ UNHCR ประจ�ำประเทศไทยเข้ำไปดูแลและให้กำรสงเครำะห์แก่ผู้ลี้ภัยจำกกำรสู้รบในค่ำยผู้ลี้ภัยในเดือนมีนำคม
9
พ.ศ. ๒๕๔๑ รวมทั้งยุบพื้นที่พักพิงจ�ำนวน ๑๙ แห่ง ให้เหลือเพียง ๑๑ แห่ง รวมทั้งย้ำยผู้ลี้ภัยจำกค่ำยผู้ลี้ภัยบ้ำนห้วยกะโหลก
อ�ำเภอแม่สอด ไปที่ค่ำยผู้ลี้ภัยบ้ำนแม่หละ อ�ำเภอท่ำสองยำง จังหวัดตำก พร้อมทั้งมีมำตรกำรป้องกันไม่ให้กองก�ำลัง KNU หรือ KnPP
เข้ำมำปะปนในค่ำยผู้ลี้ภัย อย่ำงไรก็ดี กรณีนักศึกษำพม่ำบุกยึดสถำนทูตพม่ำ/เมียนมำร์ในประเทศไทย ใน ปี พ.ศ. ๒๕๔๒ และทำง
ฝ่ำยไทยสำมำรถต่อรองให้นักศึกษำปล่อยตัวประกัน แต่เหตุกำรณ์ดังกล่ำวท�ำให้รัฐบำลพม่ำ/เมียนมำร์ถือว่ำเป็นกำรก่อกำรร้ำยและ
8 Shan Women’s Action Network: SWAN 2002
9 พรพิมล ตรีโชติ ๒๕๔๗: ๑๐๕
26 27
ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว