Page 39 - รายงานวิจัย เรื่อง ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว
P. 39

บทที่ ๒




































                      ๔. การปรับยุทธศาสตร์ความมั่นคงชายแดนไทย



                          สถำนกำรณ์ควำมขัดแย้งบริเวณชำยแดนไทย-พม่ำ/เมียนมำร์มีควำมสลับซับซ้อนมำกขึ้น  ในช่วงกลำงทศวรรษ  ๑๙๙๐

               เมื่อกองก�ำลังถืออำวุธชนกลุ่มน้อยกะเหรี่ยงที่เคยมีควำมเข้มแข็งในทำงกำรทหำรและสำมำรถควบคุมเส้นทำงกำรค้ำชำยแดน และ
               ตลำดมืด กลับมีปัญหำขัดแย้งภำยในด้วยกันเองระหว่ำงกองก�ำลัง KNU กับอีกฝ่ำยหนึ่งที่เป็นกองก�ำลังกะเหรี่ยงพุทธ (DKBA) ที่ฝ่ำย

               พม่ำ/เมียนมำร์สัญญำว่ำ  หำกสำมำรถเอำชนะกองก�ำลัง  KNU  ได้ก็จะมอบให้ดูแลรัฐกะเหรี่ยง  กองก�ำลัง  DKBA  ซึ่งมีก�ำลังอำวุธ
               ที่ทันสมัยได้หันมำโจมตีฐำนที่มั่นของกองก�ำลัง KNU อย่ำงต่อเนื่อง บำงครั้งยังยกก�ำลังเข้ำโจมตีค่ำยผู้ลี้ภัยต่ำงๆ ในฝั่งไทย โดยอ้ำงว่ำ
               มีทหำรกะเหรี่ยงปะปนอยู่ด้วย เพื่อต้องกำรช่วงชิงมวลชนกะเหรี่ยงให้เข้ำมำอยู่ฝ่ำยของตน ควำมขัดแย้งของกองก�ำลังกะเหรี่ยง

               ทั้งสองฝ่ำยมีผลท�ำให้มีผู้อพยพหนีภัยจำกกำรสู้รบ โดยเฉพำะชำวกะเหรี่ยงเข้ำมำในฝั่งไทยมำกขึ้น โดยที่ทำงฝ่ำยไทยยังยึดมั่นใน
               หลักกำรของกำรให้ควำมช่วยเหลือในด้ำนมนุษยธรรม  และค�ำนึงถึงสิทธิมนุษยชนในกำรให้ที่พักพิงแก่ผู้ลี้ภัย  ในขณะที่พัฒนำกำรของ
               ควำมขัดแย้งระหว่ำงกองก�ำลังกะเหรี่ยงทั้งสองฝ่ำยเป็นประโยชน์ต่อพม่ำ/เมียนมำร์  และมีส่วนท�ำให้กองทัพพม่ำสำมำรถโจมตีฐำนที่มั่น

               ของกะเหรี่ยงที่ค่ำยมำเนอร์ปลอว์แตกในเดือนมกรำคม พ.ศ. ๒๕๓๘ แต่กลับเป็นสิ่งที่มีผลกระทบต่อควำมมั่นคงต่อชีวิตและทรัพย์สิน
               ของประชำชนไทยที่อำศัยอยู่ตำมชำยแดน  รัฐบำลไทยยิ่งต้องรับภำระผู้ลี้ภัยจำกกำรสู้รบมำกขึ้น  ดังนั้น  จึงได้มีกำรปรับยุทธศำสตร์
               ควำมมั่นคงชำยแดนเสียใหม่  โดยกำรยุบรวมพื้นที่พักพิงขนำดเล็กที่กระจำยตำมชำยแดนไทย-พม่ำ/เมียนมำร์ย้ำยให้เข้ำมำอยู่รวมกัน

               ในฝั่งไทยมำกขึ้นเพื่อควำมปลอดภัย  ในช่วงปี  พ.ศ.  ๒๕๔๐  รัฐบำลไทยจ�ำเป็นต้องจัดค่ำยผู้ลี้ภัยรองรับผู้ลี้ภัยจำกกำรสู้รบเพิ่มขึ้น
               ๓ แห่ง ได้แก่ ค่ำยผู้ลี้ภัยบ้ำนถ�้ำหิน ค่ำยผู้ลี้ภัยบ้ำนต้นยำงและค่ำยผู้ลี้ภัยบ้ำนนุโพ ซึ่งกรณีค่ำยผู้ลี้ภัยบ้ำนนุโพนี้ จำกรำยงำนของ KRC

               มีผู้หลบหนีกำรสู้รบเข้ำมำพักจ�ำนวนประมำณ ๑๐,๕๕๙ คน ในเดือนธันวำคม ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ จ�ำนวนผู้ลี้ภัยจำกรัฐกะเหรี่ยง (ไม่นับรวม
               ผู้ลี้ภัยจำกรัฐคะยำห์) มีผู้ลี้ภัยจ�ำนวนมำกถึง ๙๑,๙๙๓ คน (Karen Refugee Committee Monthly Report, December 1997)
               นับเป็นช่วงที่ประเทศไทยเผชิญกับปัญหำผู้ลี้ภัยหนักหน่วงและรุนแรงที่สุด

                           ปลำยทศวรรษ ๑๙๙๐ เป็นช่วงเวลำที่กองทัพพม่ำได้มียุทธกำรปรำบปรำมกองก�ำลังถืออำวุธชนกลุ่มน้อยอย่ำง
               หนักหน่วง รวมทั้งได้รับควำมช่วยเหลือโดยกองก�ำลัง DKBA ที่มีควำมคุ้นเคยกับพื้นที่ และบุกเข้ำโจมตีค่ำยผู้ลี้ภัยในเขตไทย ทั้งบริเวณ

               ชำยแดนในจังหวัดตำกและแม่ฮ่องสอน เพื่อกวำดต้อนผู้ลี้ภัยกลับประเทศพม่ำ/เมียนมำร์ ในฝั่งตรงกันข้ำมกับชำยแดนจังหวัดแม่ฮ่องสอน
               เป็นพื้นที่ของรัฐคะยำห์หรือคะเรนนี  ควำมขัดแย้งระหว่ำงรัฐบำลพม่ำ/เมียนมำร์กับรัฐคะยำห์มำจำกควำมต้องกำรในกำรอ้ำงสิทธิ



             26                                                                                                                                                                                                                             27
             ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว                                                                                                                           ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44