Page 37 - รายงานวิจัย เรื่อง ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว
P. 37
บทที่ ๒
กำรสู้รบในเขตรัฐชนกลุ่มน้อยดังกล่ำวนี้ ย่อมมีผลกระทบต่อประชำชนในพื้นที่ ท�ำให้ประชำชนต้องหลบหนีเข้ำมำในประเทศไทย
4
เป็นระยะๆ ตลอดเวลำ นโยบำยของรัฐบำลไทยในช่วงนั้น จึงนับว่ำ “มีไมตรีจิตต่อชนกลุ่มน้อย” จึงรับผู้อพยพไว้และให้ควำม
ช่วยเหลือด้วยเหตุผลทำงด้ำนมนุษยธรรมและไม่ได้ผลักดันบุคคลเหล่ำนี้กลับประเทศพม่ำ/เมียนมำร์ รัฐบำลไทยไม่ได้ถือว่ำบุคคลเหล่ำนี้
เป็น “ผู้ลี้ภัย” เนื่องจำกรัฐบำลไทยไม่ได้เข้ำร่วมภำคีอนุสัญญำว่ำด้วยสถำนภำพผู้ลี้ภัย ค.ศ. ๑๙๕๑ แต่ถือว่ำเป็น “ผู้พลัดถิ่นสัญชำติพม่ำ”
กำรอพยพหนีภัยจำกกองทัพพม่ำเข้ำมำในประเทศไทยของชนกลุ่มน้อยเหล่ำนี้ในช่วงแรกๆ นี้ เกิดขึ้นบ่อยจนกลำยเป็นสิ่งปกติที่สำมำรถ
คำดกำรณ์ได้ เพรำะกำรสู้รบระหว่ำงกองทัพของรัฐบำลพม่ำ/เมียนมำร์และกองก�ำลังถืออำวุธชนกลุ่มน้อยจะเกิดขึ้นในช่วงฤดูแล้ง
ของทุกปี เมื่อถึงฤดูฝนกองทัพพม่ำจะยกทัพกลับไป ประชำชนชนกลุ่มน้อยที่อพยพหนีภัยก็จะอพยพกลับถิ่นฐำนของตนเองอำจจะเหลือ
ตกค้ำงอำศัยอยู่กับญำติพี่น้องของตนเองบ้ำง จึงมีข้อสังเกตว่ำ “รัฐบำลไทยไม่มีควำมจ�ำเป็นใดๆ ที่จะต้องมีมำตรกำรหรือนโยบำยที่
5
จะเข้ำมำดูแลในสถำนกำรณ์อพยพลี้ภัยตำมฤดูกำลเหล่ำนี้” แต่ยังกลับเห็นว่ำเป็นผลดีต่อควำมมั่นคงของประเทศในขณะนั้นบ้ำง จึงมี
ข้อสังเกตว่ำ “รัฐบำลไทยไม่มีควำมจ�ำเป็นใดๆ ที่จะต้องมีมำตรกำรหรือนโยบำยที่จะเข้ำมำดูแลในสถำนกำรณ์อพยพลี้ภัยตำมฤดูกำล
6
เหล่ำนี้” แต่ยังกลับเห็นว่ำเป็นผลดีต่อควำมมั่นคงของประเทศในขณะนั้น
๒. ท่าทีของรัฐบาลไทยต่อการอพยพหนีภัย
นโยบำยของรัฐบำลไทยต่อสถำนกำรณ์กำรอพยพลี้ภัยเริ่มมีควำมชัดเจนขึ้นในช่วงกลำงทศวรรษ ๑๙๘๐ โดยห้ำมผู้อพยพ
มิให้ด�ำเนินกำรใดๆ ที่เป็นปฏิปักษ์ต่อรัฐบำลพม่ำ/เมียนมำร์และให้มีกำรควบคุมและติดตำมควำมเคลื่อนไหว แต่เนื่องจำกพื้นที่
ชำยแดนเต็มไปด้วยเขตป่ำทึบและเทือกเขำ ท�ำให้ผู้อพยพสำมำรถเล็ดลอดเข้ำมำได้ง่ำย ฝ่ำยไทยเองไม่มีเจ้ำหน้ำที่เพียงพอที่จะ
ระแวดระวังป้องกันไม่ให้มีกำรอพยพเข้ำมำในเขตไทย ถึงแม้จะมีกำรจับกุมและส่งกลับไป แต่บุคคลเหล่ำนี้ก็เดินทำงกลับมำอีก ยิ่งกว่ำนั้น
หมู่บ้ำนกลุ่มชำติพันธุ์ฝั่งชำยแดนไทยล้วนแล้วแต่มีควำมผูกพันทำงชำติพันธุ์หรือเครือญำติกับผู้อพยพหนีภัย ดังนั้น ผู้อพยพหนีภัยจึง
มักจะมำขอพักอำศัย ขอควำมช่วยเหลือเป็นกำรชั่วครำว และอพยพกลับเมื่อเหตุกำรณ์กำรปะทะกันสงบลง อย่ำงไรก็ดี รัฐบำลไทยได้
ถือหลักกำรให้ควำมช่วยเหลือด้ำนมนุษยธรรมแก่ผู้ที่หนีภัยสงครำม จึงได้ตั้ง “ศูนย์แรกรับ” ขึ้นในบริเวณชำยแดนจังหวัดกำญจนบุรี
ตรงข้ำมกับรัฐมอญพื้นที่ตรงข้ำมกับรัฐกะเหรี่ยง ในจังหวัดกำญจนบุรี จังหวัดรำชบุรีและจังหวัดตำก พื้นที่ตรงข้ำมกับรัฐคะยำห์ ได้แก่
พื้นที่ในจังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดแม่ฮ่องสอน โดยมีหน่วยงำนองค์กรเอกชนระหว่ำงประเทศเข้ำมำให้ควำมช่วยเหลือด้ำนปัจจัยสี่
แก่ผู้หนีภัยเหล่ำนี้
อย่ำงไรก็ดี ปี พ.ศ. ๒๕๒๗ เป็นปีที่มีกำรเปลี่ยนแปลงที่ส�ำคัญ ซึ่งน�ำมำสู่พัฒนำกำรรูปแบบใหม่ของพื้นที่พักพิงชั่วครำว
ทั้งนี้เพรำะรัฐบำลพม่ำ/เมียนมำร์ได้ส่งทหำรเข้ำปรำบปรำมกองก�ำลังของกะเหรี่ยงอย่ำงหนักหน่วง มีผู้หนีภัยจำกกำรสู้รบเป็นจ�ำนวนมำก
ท�ำให้รัฐบำลไทยต้องรวบรวมคนเหล่ำนี้ไปพักอำศัยที่พื้นที่พักพิงชั่วครำวบ้ำนห้วยกะโหลก ต�ำบลแม่ปะ อ�ำเภอแม่สอด กำรด�ำเนินกำร
ดังกล่ำวนี้ถือว่ำเป็นกำรให้ควำมช่วยเหลือตำมหลักมนุษยธรรม ดังที่รัฐบำลไทยได้เคยปฏิบัติต่อผู้อพยพจำกอินโดจีนมำก่อน ทั้งนี้
โดยมีองค์กรเอกชนระหว่ำงประเทศเป็นผู้ให้ควำมช่วยเหลือในด้ำนปัจจัยสี่ ปรำกฏว่ำมีผู้หนีภัยจำกกำรสู้รบต้องกำรที่พ�ำนักในประเทศไทย
มำกกว่ำที่จะกลับไปเผชิญกับกำรปรำบปรำมจำกทหำรพม่ำ ในขณะเดียวกันรัฐบำลพม่ำ/เมียนมำร์ได้วำงมำตรกำรป้องกันบุคคล
ที่หลบหนีออกจำกประเทศไม่ให้เดินทำงกลับเข้ำประเทศ โดยออกเป็นกฎหมำยว่ำด้วยควำมเป็นพลเมืองของพม่ำ/เมียนมำร์ (Burmese
Citizenship Law) เพื่อให้บุคคลที่มีควำมสัมพันธ์กับกองก�ำลังที่เป็นปฏิปักษ์กับรัฐบำลพม่ำ/เมียนมำร์ เป็นผู้ขำดจำกกำรเป็นพลเมือง
4
เพิ่งอ้ำง, หน้ำ ๒๓
5 เพิ่งอ้ำง, หน้ำ ๑๘
เพิ่งอ้ำง, หน้ำ ๑๘
6
24 25
ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว