Page 38 - รายงานวิจัย เรื่อง ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว
P. 38

7
                   ของพม่ำ/เมียนมำร์ ซึ่งมีนัยว่ำ  ตรำบใดที่ยังมีกำรสู้รบกับกองก�ำลังถืออำวุธชนกลุ่มน้อย  และมีประชำชนชนกลุ่มน้อยที่ตกค้ำงอยู่
                   นอกประเทศ ก็จะไม่รับบุคคลที่ต้องสงสัยว่ำเป็นทหำรหรือเป็นสมำชิกครอบครัวของทหำรในกองก�ำลังถืออำวุธชนกลุ่มน้อยเหล่ำนี้
                   กลับประเทศพม่ำ/เมียนมำร์ จึงเท่ำกับเป็นกำรผลักภำระในกำรดูแลเลี้ยงดูบุคคลเหล่ำนี้ให้อยู่ในควำมรับผิดชอบของรัฐบำลไทย
                   ที่กลำยเป็นผู้แบกรับผลพวงของควำมขัดแย้งทำงกำรเมืองของพม่ำ/เมียนมำร์



                          ๓. นโยบายเศรษฐกิจของไทย และการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
                              ในพม่า/เมียนมาร์



                              ตั้งแต่  พ.ศ.  ๒๕๓๑  เป็นต้นมำ  สถำนกำรณ์เศรษฐกิจและกำรเมือง  ทั้งในประเทศไทยและพม่ำ/เมียนมำร์ได้พัฒนำ

                  และเปลี่ยนแปลงไปอีกลักษณะหนึ่งที่มีควำมสลับซับซ้อนมำกขึ้น โดยประเทศไทยในสมัยรัฐบำลพลเอก ชำติชำย ชุณหะวัณ ได้ประกำศ
                  นโยบำย  “เปลี่ยนสนำมรบให้เป็นสนำมกำรค้ำ”  ซึ่งเป็นนโยบำยที่มุ่งเน้นกำรสร้ำงควำมสัมพันธ์ทำงเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้ำน
                  มำกกว่ำเรื่องควำมมั่นคงของประเทศ ในขณะที่ประเทศในอินโดจีนต่ำงมีนโยบำยขับเคลื่อนประเทศของตนเข้ำสู่ระบบเศรษฐกิจ

                  แบบตลำด  ยิ่งกว่ำนั้นประเทศไทยต้องกำรเห็นกำรแก้ไขปัญหำควำมมั่นคงชำยแดนร่วมกันกับประเทศพม่ำ/เมียนมำร์  เพื่อเปิดโอกำส
                  ในกำรค้ำขำยและแสวงหำประโยชน์จำกทรัพยำกรธรรมชำติที่อุดมสมบูรณ์ของพม่ำ/เมียนมำร์มำกขึ้นอีกด้วย เป็นที่น่ำสังเกตว่ำ

                  กำรเปลี่ยนแปลงนโยบำยดังกล่ำวเกิดขึ้นพร้อมกับกำรเปลี่ยนแปลงทำงกำรเมืองในพม่ำ/เมียนมำร์ ที่มีผลท�ำให้เกิดกำรหลั่งไหลของ
                  ผู้หนีภัยจำกประเทศพม่ำ/เมียนมำร์เข้ำมำในประเทศไทยเป็นจ�ำนวนมำก  โดยเฉพำะหลังจำกที่กลุ่มนำยทหำรที่เรียกตัวเองว่ำ  State
                  Law  and  Order  Restoration  Council  (SLORC)  ได้เข้ำมำบริหำรประเทศและมีกำรปรำบปรำมนักกำรเมือง  ประชำชนและ

                  นักศึกษำ/ปัญญำชนพม่ำ  ส่งผลให้มีกำรอพยพหนีภัยกำรเมืองเข้ำมำในประเทศไทยเป็นจ�ำนวนมำก  เพื่อเป็นกำรให้ควำมอนุเครำะห์
                  แก่นักศึกษำ/ปัญญำชนพม่ำกลุ่มนี้ที่เคยมีบทบำทในกำรต่อสู้ทำงกำรเมือง รัฐบำลไทยจึงอนุญำตให้ UNHCR จดทะเบียนบุคคลกลุ่มนี้
                  ในฐำนะเป็น  บุคคลในควำมห่วงใย  (People  of  Concern:  POC)  และได้เปิด  “เขตปลอดภัย”  (Safety  Area)  ที่ศูนย์มณีลอย

                  จังหวัดรำชบุรี  ให้กำรดูแลช่วยเหลือตำมหลักกำรทำงด้ำนมนุษยธรรม  นโยบำยกำรปรำบปรำมชนกลุ่มน้อยอย่ำงเบ็ดเสร็จภำยใต้
                  รัฐบำลทหำร SLORC ท�ำให้กำรอพยพของผู้ลี้ภัยจำกพม่ำเข้ำมำในเขตไทยมีจ�ำนวนมำกขึ้นอย่ำงเห็นได้ชัดเจน
                              ในช่วงปลำยทศวรรษ ๑๙๘๐ จนถึงต้นทศวรรษ ๑๙๙๐ รัฐบำลไทยได้ด�ำเนินนโยบำยที่เน้นควำมร่วมมือทำงเศรษฐกิจ

                  กับประเทศพม่ำ/เมียนมำร์มำกขึ้น โดยเฉพำะส่งเสริมให้ธุรกิจเอกชนเข้ำไปลงทุนท�ำธุรกิจในพม่ำ/เมียนมำร์ เช่น กำรขอสัมปทำนป่ำไม้
                  จ�ำนวน  ๔๘  แปลงในพื้นที่ป่ำที่อยู่ในรัฐชนกลุ่มน้อย  กำรแสวงหำแหล่งทรัพยำกรด้ำนพลังงำน  ได้แก่  ก๊ำซธรรมชำติ  น�้ำมันและ

                  พลังงำนไฟฟ้ำจำกกระแสน�้ำ โดยมีกำรตกลงซื้อขำยก๊ำซธรรมชำติจำกแหล่งยำดำนำและเยดำกุนในอ่ำวเมำะตะมะ ซึ่งต้องวำงแนว
                  ท่อก๊ำซผ่ำนพื้นที่รัฐชนกลุ่มน้อย ได้แก่ รัฐมอญ ภำคตะนำวศรี และรัฐกะเหรี่ยงเข้ำสู่ประเทศไทยผ่ำนจังหวัดกำญจนบุรี รัฐบำลพม่ำ/
                  เมียนมำร์ได้เร่งเตรียมพื้นที่ในกำรวำงท่อก๊ำซ โดยกำรส่งกองทัพพม่ำเข้ำโจมตีกองก�ำลังถืออำวุธชนกลุ่มน้อย  และขับไล่ประชำชนชำว

                  มอญและกะเหรี่ยงออกจำกพื้นที่  มีกำรบังคับใช้แรงงำน  รวมทั้งตัดถนนและสร้ำงทำงรถไฟเพื่ออ�ำนวยควำมสะดวกในกำรวำงท่อก๊ำซ
                  ท�ำให้มีชนกลุ่มน้อยชำวมอญและกะเหรี่ยงต้องหนีภัยจำกกำรสู้รบเข้ำมำในพื้นที่รำชบุรีและกำญจนบุรีมำกขึ้น กล่าวได้ว่า นโยบาย

                  ทางด้านเศรษฐกิจและพลังงานของรัฐบาลไทยในช่วงนี้เป็นเงื่อนไขใหม่ที่ท�าให้เกิดการอพยพหนีภัยเข้าสู่ประเทศไทยมากขึ้น
                  ที่แตกต่ำงไปจำกเงื่อนไขของกำรอพยพก่อนหน้ำนี้  ที่เกิดจำกควำมขัดแย้งทำงกำรเมืองภำยใน  และกำรสู้รบระหว่ำงกองทัพพม่ำและ
                  กองก�ำลังถืออำวุธชนกลุ่มน้อย




                         7  เพิ่งอ้ำง, หน้ำ ๓๓



 24                                                                                                                  25
 ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว               ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43