Page 36 - รายงานวิจัย เรื่อง ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว
P. 36
สถานการณ์ที่น�ามาสู่การอพยพและการตั้งค่ายผู้ลี้ภัย
ส�ำหรับพื้นที่ชำยแดนของประเทศไทย ได้แก่ รำชบุรี กำญจนบุรี ตำก เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอนและเชียงรำย ซึ่งตั้งอยู่ตรงข้ำม
กับรัฐชนกลุ่มน้อย ยังมีกลุ่มชำติพันธุ์ที่ตั้งชุมชนเป็นหลักแหล่งอยู่ใกล้บริเวณชำยแดนเป็นจ�ำนวนมำก ดังนั้น จึงมีกำรเดินทำงไปมำหำสู่
ติดต่อค้ำขำย แต่งงำนและเชื่อมสัมพันธ์ทำงวัฒนธรรมกันมำอย่ำงยำวนำน จึงกล่ำวได้ว่ำ พื้นที่บริเวณชำยแดน (Borderland) จึงเป็น
พื้นที่ที่มีควำมส�ำคัญทั้งในด้ำนควำมมั่นคง เศรษฐกิจและสังคม โดยเฉพำะอย่ำงยิ่ง ในช่วงที่ประเทศพม่ำ/เมียนมำร์ มีนโยบำยปิดประเทศ
พื้นที่บริเวณชำยแดนจึงกลำยเป็นพื้นที่ที่กองก�ำลังถืออำวุธชนกลุ่มน้อยในประเทศพม่ำ/เมียนมำร์ ใช้เป็นพื้นที่สะสมก�ำลังและหลบซ่อน
กำรปรำบปรำมของกองทัพพม่ำ หรือข้ำมมำหำเสบียง ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๐๕ นอกจำกนั้น ยังเป็นเส้นทำงของกำรลักลอบค้ำขำยข้ำม
แดน รวมทั้ง “ตลำดมืด” ชำยแดน ที่ท�ำให้กองก�ำลังถืออำวุธชนกลุ่มน้อยสำมำรถมีก�ำลังทำงเศรษฐกิจที่ใช้หล่อเลี้ยงกองก�ำลัง ซื้ออำวุธ
ยุทโธปกรณ์และปฏิบัติกำรทำงทหำรของตนได้
ถึงแม้ว่ำกลุ่มชำติพันธุ์ชนกลุ่มน้อยในประเทศพม่ำ/เมียนมำร์ จะมีควำมคล้ำยคลึงกันในด้ำนภำษำและวัฒนธรรมกับ
กลุ่มชำติพันธุ์บำงกลุ่มในประเทศไทย แต่ก็มีควำมต่ำงกันอย่ำงมำกในด้ำนจ�ำนวนประชำกรและประวัติศำสตร์ของควำมสัมพันธ์กับรัฐ
นั่นคือ กลุ่มชำติพันธุ์ชนกลุ่มน้อยในประเทศไทยไม่ได้มีกำรต่อสู้เรียกร้องกำรปกครองตนเอง ถึงขนำดมีกำรจัดตั้งเป็นกองก�ำลังต่อสู้กับ
รัฐบำล อีกทั้งรัฐบำลไทยยังได้ใช้นโยบำยผสมกลมกลืนจนท�ำให้กลุ่มชำติพันธุ์ชนกลุ่มน้อยมีควำมภักดีต่อรัฐไทย หำกจะมีควำมขัดแย้ง
เกิดขึ้น ก็จะเป็นกลุ่มก่อกำรร้ำยในสำมจังหวัดชำยแดนภำคใต้ที่ใช้ควำมรุนแรงปะทะกับทหำร หรือท�ำร้ำยชำวบ้ำนในช่วงหนึ่งทศวรรษ
ที่ผ่ำนมำ
ส�ำหรับกรณีของประเทศพม่ำ/เมียนมำร์ ควำมเป็นชำติพันธุ์ชนกลุ่มน้อยเริ่มต้นตั้งแต่ยุคอำณำนิคม ที่อังกฤษได้ใช้นโยบำย
“แบ่งแยกและปกครอง” โดยจ�ำแนกกลุ่มชำติพันธุ์ให้มีควำมแตกต่ำงกันอย่ำงชัดเจน รวมทั้งยังใช้กลุ่มชำติพันธุ์ชนกลุ่มน้อยให้เป็น
ประโยชน์ในกำรบริหำรงำนอำณำนิคม เช่น ใช้ชำวอินเดียเป็นกองก�ำลังต�ำรวจ ใช้ชำวกะเหรี่ยงและคะฉิ่นให้เป็นทหำรในกองทัพ
ของอังกฤษ กำรให้ควำมส�ำคัญแก่ชนกลุ่มน้อยเหล่ำนี้ จึงเป็นกำรคำนอ�ำนำจกลุ่มชำติพันธุ์พม่ำ (Burman) ที่เป็นชนกลุ่มใหญ่ใน
ประเทศหลังจำกที่ประเทศพม่ำ/เมียนมำร์ได้รับอิสรภำพจำกอังกฤษ ผู้น�ำประเทศพม่ำในขณะนั้นได้ยกเลิกสนธิสัญญำปำงหลวง
(Paluang Agreement) ที่ให้โอกำสและควำมหวังแก่ชนกลุ่มน้อยในกำรเข้ำร่วมในระบบกำรปกครองแบบสหพันธรัฐ (Federal Union)
สำมำรถปกครองตนเองและแยกตัวออกเป็นอิสระได้ในอนำคต (หำกต้องกำร) ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกลุ่มชำติพันธุ์ชนกลุ่มน้อยกับ
รัฐบำลพม่ำ/เมียนมำร์ จึงพัฒนำกลำยเป็นควำมขัดแย้งที่ทวีควำมรุนแรงมำกขึ้นในช่วงเวลำหลำยทศวรรษต่อมำ กลุ่มชำติพันธุ์
ชนกลุ่มน้อยเหล่ำนี้ต้องกำรสิทธิในกำรปกครองตนเอง และเสรีภำพในกำรใช้ภำษำและปฏิบัติวัฒนธรรมของตน อุดมกำรณ์ปำงหลวง
จึงมีกำรสืบสำนและถูกน�ำมำใช้ในกำรเรียกร้องต่อรัฐบำลพม่ำ/เมียนมำร์มำโดยตลอดจนกระทั่งปัจจุบัน
ในทำงตรงกันข้ำม พม่ำ/เมียนมำร์ต้องกำรเอกภำพทำงกำรเมือง ไม่ต้องกำรให้เกิดกำรแยกตัวเป็นอิสระอันจะน�ำไปสู่
ปัญหำกำรแบ่งแยกอธิปไตย (Disintegration of Sovereignty) จึงเป็นสำเหตุที่ท�ำให้เกิดกำรสู้รบระหว่ำงรัฐบำลพม่ำ/เมียนมำร์
และชนกลุ่มน้อยกลุ่มต่ำงๆ มำโดยตลอด ยิ่งประเทศพม่ำ/เมียนมำร์เลือกที่จะใช้นโยบำยสังคมนิยมแบบพม่ำ (Burmese Way of
Socialism) ตั้งแต่สมัยพลเอกเนวิน ในปี พ.ศ. ๒๕๐๕ รวมทั้งนโยบำยชำตินิยมที่ให้ควำมส�ำคัญต่อชนชำติพม่ำ ก็ยิ่งท�ำให้เกิดปฏิกิริยำ
ต่อต้ำนจำกชนกลุ่มน้อยกลุ่มต่ำงๆ ถึงขั้นมีกำรรวบรวมก�ำลังพลจัดตั้งเป็นกองก�ำลังถืออำวุธ เช่น KNU KnPP กองก�ำลังกู้ชำติไทใหญ่
(Shan State Army: SSA) กองก�ำลังแห่งพรรครัฐมอญใหม่ (New Mon State Party: NMSP) องค์กรคะฉิ่นอิสระ/กลุ่มประชำธิปไตย
ชำติพันธุ์คะฉิ่น (Kachin Independence Organization: KIO) ซึ่งมีกองก�ำลังอิสระคะฉิ่น (Kachin Independent Army: KIA)
3
ที่ต่อสู้กับรัฐบำลพม่ำ/เมียนมำร์ กองก�ำลังเหล่ำนี้มักจะอำศัยพื้นที่บริเวณประชิดชำยแดนไทย-พม่ำ/เมียนมำร์เป็นฐำนที่มั่น (ยกเว้น
KIA) หรือเป็นพื้นที่ในกำรหลบซ่อนเมื่อเพลี่ยงพล�้ำ เป็นที่สะสมก�ำลัง หำเสบียง หรือแม้แต่กำรเกณฑ์ชำวบ้ำนให้เป็นทหำร หรือเป็น
ลูกหำบในกำรขนอำวุธยุทโธปกรณ์ต่ำงๆ ผู้น�ำกองก�ำลังเหล่ำนี้บำงครั้งข้ำมพรมแดนเข้ำมำพักอำศัยในประเทศไทย หรือมีครอบครัว
อยู่ในพื้นที่ประเทศไทย รัฐบำลพม่ำ/เมียนมำร์ได้ใช้ก�ำลังทหำรเข้ำปรำบปรำมกองก�ำลังถืออำวุธชนกลุ่มน้อยอย่ำงรุนแรง สถำนกำรณ์
3 พรพิมล ตรีโชติ ๒๕๔๗: ๒๐-๒๒
22 23
ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว