Page 35 - รายงานวิจัย เรื่อง ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว
P. 35
บทที่ ๒
สถานการณ์ที่น�ามาสู่การอพยพ
และการตั้งค่ายผู้ลี้ภัย
๑. ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของการเมืองชนกลุ่มน้อย
ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตอนบน ประเทศไทยมีสถำนะทำงภูมิรัฐศำสตร์-สังคมที่มีลักษณะเฉพำะ คือ ถูกรำยล้อม
ด้วยประเทศเพื่อนบ้ำน โดยเฉพำะในด้ำนตะวันตกที่มีพรมแดนทั้งทำงบกและทำงน�้ำติดต่อกันประมำณ ๒,๔๐๑ กิโลเมตร ซึ่งเป็น
บริเวณพรมแดนที่เชื่อมต่อสหภำพสำธำรณรัฐพม่ำหรือที่เปลี่ยนมำเรียกว่ำประเทศเมียนมำร์ในปัจจุบัน บริเวณดังกล่ำวมีสภำพเป็นป่ำเขำ
และบำงส่วนมีแม่น�้ำสำละวินเป็นเส้นเขตแดนในบริเวณจังหวัดแม่ฮ่องสอนยำว ๑๒๗ กิโลเมตร และมีแม่น�้ำเมยที่เป็นเส้นพรมแดน
บริเวณจังหวัดตำกอีกบำงส่วน ตลอดพรมแดนที่ติดต่อกับประเทศพม่ำ/เมียนมำร์นี้ มีช่องทำงที่ประชำชนสำมำรถใช้ติดต่อค้ำขำยกันได้
มำเป็นระยะเวลำยำวนำน ลักษณะที่โดดเด่นของพื้นที่ชำยแดนของประเทศไทยด้ำนนี้ คือ กำรเป็นพื้นที่ที่ประชิดกับรัฐชนกลุ่มน้อย
ของประเทศพม่ำ/เมียนมำร์ อันได้แก่ รัฐฉำน (Shan State) รัฐคะยำห์ (Kayah State) รัฐกะเหรี่ยง (Karen State) หรือ รัฐคะยิน
(Kayin State) และรัฐมอญ (Mon State) ชนกลุ่มน้อยในรัฐเหล่ำนี้มีควำมสัมพันธ์กับประเทศไทยมำยำวนำน และที่ส�ำคัญก็คืออยู่ใน
ฐำนะเป็น “แนวกันชน” ระหว่ำงประเทศไทยกับประเทศพม่ำ/เมียนมำร์มำตั้งแต่ในอดีต รัฐไทยได้อำศัยกลุ่มชำติพันธุ์มอญ กะเหรี่ยง
คะเรนนี หรือกะเหรี่ยงแดงให้เป็นแนวหน้ำส่งข่ำวเกี่ยวกับกำรเคลื่อนไหวทำงทหำรของพม่ำ ส่วนกลุ่มชำติพันธุ์ที่ถูกเรียกว่ำฉำน หรือชำว
ไทใหญ่นั้น มีควำมสัมพันธ์อันดีกับหัวเมืองฝ่ำยเหนือของไทยตั้งแต่อดีต ซึ่งมีชำวไทใหญ่อำศัยอยู่ในจังหวัดแม่ฮ่องสอนเป็นจ�ำนวนมำก
มีควำมสัมพันธ์ทำงเครือญำติและชำติพันธุ์
22 23
ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว