Page 71 - รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัยการป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ของประเทศไทย และความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน
P. 71
โทรศัพท์มือถือ ห้ามเป็นเจ้าของรถยนต์ ห้ามข้ามเขตจังหวัด การต้องขออนุญาตและมีใบรับรองจาก
นายจ้างในการเข้าร่วมกิจกรรม สมาคม หรือการชุมนุม และการมีดําริจะส่งตัวแรงงานหญิงที่ตั้งครรภ์
กลับไปคลอดบุตรที่บ้าน เป็นต้น จากที่กล่าวมาทั้งหมดสามารถสรุปเป็นวงจรป๎ญหาตามแผนภาพ
แผนภาพ
วงจรปัญหาการน าเข้าแรงงานข้ามชาติตาม MOU
๑
การนําเข้าแรงงานตาม MOU มีอุปสรรค ต้องติดต่อ
หลายขั้นตอน ยุ่งยาก ค่าใช้จ่ายสูง ใช้เวลานาน
๒ ๓
นายจ้างจํานวนมากไม่มีความ แรงงานไม่ต้องการมาทํางาน
พร้อม หรือไม่ต้องการนําเข้า ตาม MOU
แรงงานตาม MOU
๔ ๕
นายจ้างจ้างแรงงานหลบหนี แรงงานหลบหนีเข้าเมือง
เข้าเมือง
๖ ๙
นายจ้างกดดันให้รัฐผ่อนผัน รัฐไม่สามารถสกัดกั้น ผลักดันส่งกลับ
ให้แรงงานหลบหนีเข้าเมือง แรงงานเข้าเมืองผิดกฎหมายและ
ทํางานได้ปีแล้วปีเล่า เจ้าหน้าที่รัฐส่วนหนึ่งกลายเป็นส่วนหนึ่ง
ของขบวนการค้าแรงงานเถื่อนเสียเอง
๗
รัฐดําเนินการ
- ผ่อนผันให้แรงงานหลบหนีเข้าเมือง ๘
ผิดกฎหมายทํางานได้ เกิดธุรกิจหากินกับแรงงานทั้งที่ถูกกฎหมายและผิด
- พิสูจน์สัญชาติ (ซึ่งทําได้อย่างล่าช้า) กฎหมาย เช่นนายหน้าจัดหาแรงงานเถื่อน นายหน้าจัดหา
แรงงานตาม MOU นายหน้านําพาแรงงานไปขึ้นทะเบียน
หรือไปพิสูจน์สัญชาติ นายหน้ารับเหมาช่วงงาน
ที่มา: พฤกษ์ เถาถวิล: การเปลี่ยน (ไม่) ผ่านของการจัดการแรงงานข้ามชาติ
สืบค้นจาก http://prachatai.org/journal/2012/12/44353)
๕๑