Page 191 - รายงานผลการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ
P. 191

๑๖๔



               ซึ่งให้เอกชนเข้ามาด าเนินการร่วมด้วย ในปี ๒๕๕๓ แต่ไม่ประสบผลส าเร็จ คาดว่าคงต้องด าเนินการต่อไป

               ทั้งนี้ หากไม่ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมประชาชนจะไม่ยอมรับ น าไปสู่การเรียกร้องต่อไปอีก

                              จากการศึกษาข้อเท็จจริงในพื้นที่ กรณีแนวเขตห้ามล่าสัตว์ป่าทะเลน้อยทับซ้อน
               ที่อยู่อาศัยและที่ดินท ากินของประชาชน ต าบลพนางตุง อ าเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง และพื้นที่ต าบลแหลม

               อ าเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราชก็เช่นเดียวกัน โดยครั้งแรกการประกาศเขตห้ามล่าสัตว์ป่ามิได้
               ก าหนดเรื่องสิทธิในที่ดิน แต่ต่อมาเมื่อได้แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติให้รวมถึงเรื่องสิทธิในที่ดินเข้าไปด้วย

               เป็นการเพิ่มความเข้มข้นของกฎหมายมากขึ้น ท าให้กระทบกับสิทธิในที่ดินที่ประชาชนใช้ประโยชน์
               (พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า  พ.ศ. ๒๕๓๕ ห้ามมิให้ผู้ใดยึดถือครอบครองที่ดินภายในเขต

               ห้ามล่าสัตว์ป่า ตามมาตรา ๔๒ วรรค ๒ (๓) โดยที่พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. ๒๕๐๓
               มุ่งเน้นคุ้มครองสัตว์ป่าเพียงอย่างเดียว


                              รวมทั้ง การไม่สามารถตกลงกันได้ในเรื่องปัญหาการทับซ้อนแนวเขตระหว่างหน่วยงาน
               เช่น กรณีแนวเขตทับซ้อนระหว่างอุทยานแห่งชาติทับลาน กับเขตปฏิรูปที่ดินในพื้นที่อ าเภอวังน้ าเขียว

               จังหวัดนครราชสีมา และอุทยานแห่งชาติใต้ร่มเย็น กับพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติและเขตปฏิรูปที่ดิน ในพื้นที่
               อ าเภอนาสาร และอ าเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ตามที่กล่าวมาเป็นต้น


                       5.๓ การพิจารณาออกกฎกระทรวง หรือ พระราชกฤษฎีกา


                              ในการพิจารณาออกฎกระทรวงหรือพระราชกฤษฎีกา มีการตรวจสอบ ๒ ประการ คือ

                                     (๑) ด้านการจัดท าแผนที่แนวเขต


                                     (๒) ด้านกฎหมาย ซึ่งเป็นการก าหนดตามรูปแบบและแบบฟอร์มของการออก
               กฎกระทรวงหรือพระราชกฤษฎีกา


                              กฎกระทรวงหรือพระราชกฤษฎีกา ก าหนดให้มีแผนที่แนบท้ายอันถือเป็นส่วนหนึ่งของ
               กฎกระทรวงหรือพระราชกฤษฎีกาและเป็นกฎหมาย โดยต้องเสนอกฎหมายไปให้ส านักงานคณะกรรมการ
               กฤษฎีกาพิจารณาตรวจสอบนั้น วิเคราะห์ว่า การจะให้มีความถูกต้องทั้งในเรื่องของรูปแบบของกฎหมาย

               และความถูกต้องของแนวเขตพื้นที่นั้น ส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกามีเฉพาะผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมาย

               แต่ไม่มีความรู้ในด้านแผนที่ ดังนั้น จึงเป็นการด าเนินงานในสิ่งที่ตนเองไม่ได้มีความรู้หรือมีความถนัด
               ท าให้เกิดความผิดพลาดด้านแผนที่แนบท้าย แม้จะแก้ไขโดยวิธีให้หน่วยงานที่ท าหรือรับผิดชอบในการ
               ด าเนินงานก าหนดกฎกระทรวงหรือพระราชกฤษฎีการับรองก็ปรากฎว่า หน่วยงานที่มีแนวเขตติดต่อกัน

               กับหนวนงานที่ออกกฎกระทรวงหรือพระราชกฤษฎีกาเป็นกฎมาย มักจะไม่รับรองและเสนอข้อขัดแย้งกัน

               เสมอไม่สามารถหาข้อยุติได้ ท าให้เกิดความล่าช้า เช่น การมีพระราชกฤษฎีกาก าหนดเขตที่ดินให้เป็นเขต
               ปฏิรูปที่ดิน ใช้ระยะเวลา ๔๐๕ วัน หรือมากกว่าแล้วแต่กรณีพื้นที่ การมีพระราชกฤษฎีกาประกาศให้พื้นที่
               เป็นอุทยานแห่งชาติ ระยะเวลาด าเนินการประมาณ ๓ – ๕ ปี การมีกฎกระทรวงก าหนดป่าสงวนแห่งชาติ

               ระยะเวลาด าเนินการประมาณ ๒ – ๕ ปี เป็นต้น จะเห็นได้ว่าใช้ระยะเวลาค่อนข้างนาน ซึ่งอาจจะมีการ
   186   187   188   189   190   191   192   193   194   195   196