Page 103 - รายงานผลการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ
P. 103
๗๖
ที่ดินรกร้ำงว่ำงเปล่ำไว้เพื่อรัฐจะมีที่ดินไว้ใช้ประโยชน์ในรำชกำรในภำยหน้ำ แต่ในขณะที่มีกำรสงวน
หวงห้ำมนั้น รัฐยังมิได้มีกำรเข้ำใช้ประโยชน์ สถำนะของที่ดินรกร้ำงว่ำงเปล่ำที่ได้สงวนหวงห้ำมไว้ เพื่อใช้
ประโยชน์ในรำชกำรในระหว่ำงที่รัฐบำลมิได้เข้ำใช้ประโยชน์ในรำชกำรนั้น หำกทำงรำชกำรยังไม่ได้เข้ำใช้
ประโยชน์หรือใช้ประโยชน์บำงส่วน ส่วนที่ยังไม่ได้ใช้ประโยชน์ก็ยังคงมีสภำพเป็นที่ดินรกร้ำงว่ำงเปล่ำที่มี
กำรสงวน และไม่ใช่ที่รำชพัสดุ เพรำะเข้ำข้อยกเว้นตำมพระรำชบัญญัติที่รำชพัสดุ พ.ศ. ๒๕๑๘ มำตรำ ๔ (๑)
แต่หำกทำงรำชกำรได้เข้ำใช้ประโยชน์ในรำชกำรแล้ว ที่ดินแปลงดังกล่ำวก็จะเปลี่ยนสภำพเป็น
สำธำรณสมบัติของแผ่นดินประเภทใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพำะ ตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและ
พำณิชย์มำตรำ ๑๓๐๔(๓) และตกเป็นที่รำชพัสดุตำมพระรำชบัญญัติที่รำชพัสดุ พ.ศ. ๒๕๑๘ ตำมค ำวินิจฉัย
คณะกรรมกำรกฤษฎีกำ เรื่องเสร็จที่ ๓๘๒/๒๕๓๔ อย่ำงไรก็ตำม สถำนะของที่รำชพัสดุ มีค ำพิพำกษำฎีกำ
ที่ ๓๔๗๓/๒๕๒๕ วินิจฉัยว่ำที่ดินซึ่งเป็นสำธำรณสมบัติของแผ่นดินที่สงวนไว้ เพื่อประโยชน์ของแผ่นดิน
โดยเฉพำะตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์มำตรำ ๑๓๐๔ (๓) แม้จะถูกรำษฎรเข้ำใช้ประโยชน์
ก็ไม่ท ำให้ที่ดินดังกล่ำวเปลี่ยนสภำพเป็นสำธำรณสมบัติของแผ่นดินประเภทอื่นได้ และคณะกรรมกำร
กฤษฎีกำมีค ำวินิจฉัยว่ำ ที่ดินที่ได้สงวนหวงห้ำมไว้เพื่อใช้เพื่อประโยชน์ในรำชกำรโดยไม่ปรำกฏว่ำมีกำร
เพิกถอนกำรเป็นสำธำรณประโยชน์และทำงรำชกำรได้แสดงเจตนำหวงห้ำมตลอดมำ ที่ดินดังกล่ำวจึงยังคง
เป็นสำธำรณสมบัติของแผ่นดินประเภททรัพย์สินที่สงวนไว้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพำะ
ตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์
(ทวีชัย ลิยี่เก, ๒๕๕๖)
3.2.2.ประเภทที่.2.การประกาศก าหนดแนวเขตที่ดินของรัฐที่มีวัตถุประสงค์
เพื่อการสงวนรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
(1) การประกาศก าหนดเขตที่ดินของรัฐประเภทพื้นที่ป่าไม้
กำรประกำศก ำหนดเขตที่ดินของรัฐประเภทพื้นที่ป่ำไม้ ซึ่งเป็นที่ดินของรัฐที่มีพื้นที่มำกที่สุด
กำรประกำศก ำหนดแนวเขตอำศัยกฎหมำย มติคณะรัฐมนตรีและนโยบำยในกำรด ำเนินกำร ซึ่งมีหลำย
รูปแบบ กระบวนกำรให้ควำมส ำคัญในกำรประกำศให้เป็นที่ดินของรัฐเท่ำนั้น ไม่มีกำรก ำหนดวิธีกำร
ในกำรส ำรวจรังวัดและจัดท ำแผนที่ด้วยวิธีกำรที่ชัดเจน หรือมีกฎเกณฑ์ที่แน่นอนแต่ประกำรใด ทั้งที่
กำรประกำศให้เป็นพื้นที่ป่ำไม้นี้ รัฐบำลทุกยุคทุกสมัยให้ควำมส ำคัญมำโดยตลอด ทั้งในเรื่องกำรก ำหนด
นโยบำยให้ต้องมีกำรเก็บรักษำ กำรดูแลไม่ให้มีกำรบุกรุกท ำลำย ตลอดจนกำรแก้ไขปัญหำ ทั้งนี้ เนื่องจำก
กำรเก็บรักษำพื้นที่ป่ำไม้ให้ได้ปริมำณมำกเท่ำใด กำรรักษำสภำพภูมิประเทศ กำรรักษำควำมสมดุลตำม
ธรรมชำติก็จะส่งผลดีเป็นเงำตำมตัวเช่นกัน โดยในช่วงเวลำก่อนที่จะได้มีกำรด ำเนินกำรจ ำแนกประเภท
ที่ดินตำมแผนพัฒนำเศรษฐกิจแห่งชำติ ฉบับที่ 1 นั้น ได้มีแนวนโยบำยที่จะด ำเนินกำร โดยก ำหนดเป็น
กฎหมำยตำมควำมในมำตรำ 7 แห่งประมวลกฎหมำยที่ดิน ดังนี้
“มาตรา 7 ให้อธิบดีมีหน้าที่ส ารวจ จ าแนก และท าส ามะโนที่ดิน เพื่อให้ทราบถึงความอุดม
สมบูรณ์ตามธรรมชาติ และความเหมาะสมแก่การท าประโยชน์เพื่อประโยชน์ของรัฐและประชาชน”