Page 99 - รายงานผลการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ
P. 99
๗๒
ตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ พ.ศ. 2475 ตำมมำตรำ 1304 ต่อมำกำรหวงห้ำมที่ดิน
ต้องด ำเนินกำรตำมพระรำชบัญญัติ ว่ำด้วยกำรหวงห้ำมที่ดินรกร้ำงว่ำงเปล่ำอันเป็นสำธำรณสมบัติ
ของแผ่นดิน พ.ศ. 2478 บัญญัติวิธีกำรหวงห้ำมที่ดินของรัฐต้องกระท ำโดยกำรตรำเป็นพระรำชกฤษฎีกำ
และเริ่มมีกำรจัดท ำแผนที่แนบท้ำยซึ่งแผนที่ดังกล่ำวขณะนั้นไม่อำจเทียบกับระบบกำรท ำแผนที่ในปัจจุบัน
เนื่องจำกอำศัยสภำพภูมิประเทศเป็นหลัก จึงเป็นไปในลักษณะกำรจ ำลองสภำพภูมิประเทศประกอบ
แนวเขตพื้นที่ที่ต้องกำรหวงห้ำม เมื่อมีกำรก ำหนดส่วนรำชกำรต่ำงๆ ให้มีหน้ำที่ดูแลพื้นที่แต่ละประเภท
จึงมีกำรตรำกฎหมำยส ำหรับใช้ในกำรก ำหนดพื้นที่ที่แต่ละหน่วยงำนต้องบริหำรด้วย โดยรูปแบบใกล้เคียง
กับพระรำชบัญญัติ ว่ำด้วยกำรหวงห้ำมที่ดินรกร้ำงว่ำงเปล่ำอันเป็นสำธำรณสมบัติของแผ่นดิน พ.ศ.
2478 ที่ต้องมีกำรออกกฎกระทรวงหรือออกพระรำชกฤษฎีกำ ดังนั้น กำรก ำหนดพื้นที่ที่กล่ำวมำแล้ว
ทั้งหมดนอกเหนือจำกค ำบรรยำยสภำพพื้นที่แล้ว กำรจัดท ำแผนที่ประกอบกำรหวงห้ำมก็มีควำมส ำคัญ
อย่ำงมำก ในอดีตประชำกรยังมีจ ำนวนไม่มำกเมื่อเทียบกับสัดส่วนเนื้อที่ของประเทศ กำรครอบครองท ำกิน
ในที่ดินของรำษฎรจึงไม่มีปัญหำ ต่อมำเมื่อจ ำนวนประชำกรเพิ่มมำกขึ้นหน่วยงำนของรัฐได้ก ำหนดพื้นที่
หวงห้ำมในแต่ละหน่วยงำนขึ้นตำมรูปแบบต่ำงๆ ปัญหำเกี่ยวกับสิทธิในที่ดินจึงมีจ ำนวนเพิ่มมำกขึ้น
กำรแก้ไขปัญหำในเรื่องดังกล่ำว ต้องใช้ทั้งแนวเขตและสภำพข้อเท็จจริงในพื้นที่ที่มีกำรหวงห้ำมเป็นข้อมูล
ในกำรแก้ไขปัญหำ จึงจ ำเป็นต้องศึกษำรำยละเอียดกำรจัดท ำแนวเขตที่ดินของรัฐประเภทต่ำงๆ
อย่ำงลึกซึ้ง จึงสำมำรถตรวจสอบข้อมูลกำรก ำหนดแนวเขตพื้นที่ได้
3.2 ประเภทของการประกาศก าหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ
ขั้นตอนและวิธีกำรประกำศก ำหนดเขตที่ดินของรัฐประเภทต่ำงๆ ซึ่งประกอบด้วย สำธำรณสมบัติ
ของแผ่นดินที่ประชำชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน ที่ดินสงวนหวงห้ำมโดยพระรำชบัญญัติสงวนหวงห้ำมที่ดิน
รกร้ำงว่ำงเปล่ำอันเป็นสำธำรณสมบัติของแผ่นดิน กำรประกำศก ำหนดเขตที่ดินของรัฐประเภทพื้นที่ป่ำไม้
กำรประกำศก ำหนดให้เป็นป่ำคุ้มครองหรือป่ำสงวนตำมพระรำชบัญญัติคุ้มครองและสงวนป่ำ
พ.ศ. 2481 และพระรำชบัญญัติป่ำสงวนแห่งชำติ พ.ศ. 2507 กำรประกำศก ำหนดให้เป็นอุทยำน
แห่งชำติ โดยพระรำชบัญญัติอุทยำนแห่งชำติ พ.ศ. 2504 และกำรประกำศก ำหนดให้เป็นเขตรักษำ
พันธุ์สัตว์ป่ำและเขตห้ำมล่ำสัตว์ป่ำ โดยพระรำชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่ำ พ.ศ. 2535 เป็นต้น
เมื่อได้ท ำกำรศึกษำแล้วพบว่ำกำรประกำศก ำหนดให้เป็นที่ดินของรัฐนั้นแบ่งแยกออกตำมวัตถุประสงค์
หรือนโยบำยของรัฐได้เป็น 2 ประเภท คือ ประเภทที่ 1 เป็นพื้นที่ที่รัฐมีวัตถุประสงค์ในกำรสงวนเพื่อกำร
ใช้ประโยชน์ร่วมกันในพื้นที่ ทั้งแก่รัฐและแก่ประชำชน ประเภทที่ 2 เป็นพื้นที่ที่รัฐมีวัตถุประสงค์ในกำร
สงวนเพื่อกำรสงวนรักษำทรัพยำกรธรรมชำติ ดังนั้น เพื่อให้แนวทำงในกำรศึกษำเป็นไปด้วยควำมถูกต้อง
จ ำเป็นต้องพิจำรณำรำยละเอียดข้อมูลในกำรก ำหนดที่ดินของรัฐดังที่ได้กล่ำวมำแล้ว สรุปข้อมูล
ตำมกำรรวบรวมได้ ดังต่อไปนี้