Page 98 - รายงานผลการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ
P. 98
บทที่ 3
ความส าคัญของการจัดท าแนวเขต สภาพปัญหา และอุปสรรค
ในการด าเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดท าแนวเขตที่ดิน
แนวเขตหรือขอบเขตของที่ดินที่ก ำหนดให้เป็นที่สงวนหวงห้ำมของรัฐ เป็นส่วนหนึ่งของกฎหมำย
ถือว่ำเป็นส่วนที่ส ำคัญในกำรบ่งชี้ให้ที่ดินในส่วนที่ก ำหนดนั้นเป็นพื้นที่เพื่อใช้เป็นกิจกำรใดของผู้ใด
กำรศึกษำในบทนี้ ผู้ศึกษำได้ท ำกำรทบทวนเอกสำรที่เกี่ยวข้องกับกำรจัดท ำแนวเขตที่ดิน ซึ่งมีเนื้อหำ
ที่น ำเสนอ ครอบคลุมเนื้อหำอันประกอบไปด้วย กำรอธิบำยถึงควำมส ำคัญของกำรก ำหนดแนวเขตพื้นที่
ประเภทของกำรประกำศก ำหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ และกำรทบทวนผลตำมกฎหมำยที่ท ำให้เกิดปัญหำ
ในกำรปฏิบัติ
3.1 ความส าคัญของการก าหนดแนวเขตพื้นที่
กำรก ำหนด กำรจับจอง กำรครอบครอง หรือกำรแสดงอำณำเขตพื้นที่ โดยวัตถุประสงค์หลัก
เป็นไปเพื่อให้รู้ขอบเขตส ำหรับกำรแบ่งสันปันส่วนระหว่ำงกัน ซึ่งในระดับประเทศ หมำยถึง กำรก ำหนด
แนวพรมแดนระหว่ำงประเทศที่มีแนวเขตแดนติดกัน.หรือกำรท ำเครื่องหมำยก ำหนดแนวแห่งพรมแดน
ระหว่ำงประเทศขึ้นให้เป็นที่แน่นอนบนแผนที่ หรือกำรท ำเครื่องหมำยไว้ในภูมิประเทศ เพื่อเป็นกำรแสดง
อำณำเขตระหว่ำงกัน.ป้องกันไม่ให้เกิดปัญหำกระทบกระทั่งตำมแนวพรมแดน.หลักกำรส ำคัญของกำร
ก ำหนดแนวพรมแดนอยู่ที่ควำมตกลงระหว่ำงประเทศ.ซึ่งจะปรำกฏออกมำในรูปของหนังสือสัญญำ
เป็นสนธิสัญญำ อนุสัญญำ ควำมตกลง บันทึกวำจำ ฯลฯ ซึ่งมีสิทธิและประโยชน์ที่บ่งไว้ในหนังสือสัญญำ
ดังกล่ำวโดยนัยระหว่ำงกฎหมำยระหว่ำงประเทศ และจะเป็นเครื่องยืนยันว่ำคู่สัญญำจะเคำรพต่อเอกรำช
อธิปไตยและบูรณภำพแห่งดินแดนต่อแนวพรมแดนตำมควำมนิยมปัจจุบัน ที่ต้องมีกำรก ำหนด หรือกำรปักปัน
ตำมกฎหมำยระหว่ำงประเทศ และมีหลักเขตแดนปักไว้ให้เห็นเด่นชัดเป็นที่แน่นอนตำมหลักนิยมระหว่ำง
ประเทศนั้น กำรก ำหนดแนวพรมแดนหรือกำรเปลี่ยนแปลงแนวพรมแดนที่ก ำหนดไว้แล้วจะกระท ำกันด้วย
ควำมตกลง หรือสนธิสัญญำระหว่ำงประเทศที่เกี่ยวข้องเรียกว่ำ กำรก ำหนดเขตแดน ข้อควำมในสัญญำ
ก ำหนดเขตแดนระยะแนวเขตแดนไว้อย่ำงกว้ำง หลังจำกนั้นคณะกรรมกำรร่วมระหว่ำงประเทศ ว่ำด้วย
กำรปักหลักเขต ซึ่งจะร่วมกันถ่ำยทอดข้อควำมส ำคัญลงในภูมิประเทศจริง ซึ่งเรียกว่ำ กำรปักปันเขตแดน
หรือแนวพรมแดน เมื่อมีกำรก ำหนดเขตแดนระหว่ำงประเทศแล้ว เรื่องต่อไปเป็นกำรก ำหนดขอบเขตพื้นที่
ภำยในประเทศ ทั้งเรื่องเป็นกำรแบ่งพื้นที่ส ำหรับกิจกำรต่ำงๆ และกำรจับจองอยู่อำศัยท ำกินของรำษฎร
ในพื้นที่ โดยในบทนี้จะกล่ำวถึงกำรก ำหนดขอบเขตในส่วนเฉพำะที่ดินของรัฐ ซึ่งอำจสรุปเป็นล ำดับได้ว่ำ
เกิดจำกกำรสงวนหรือหวงห้ำมโดยพระบรมรำชโองกำร (มีศักดิ์เป็นกฎหมำย) กำรให้อ ำนำจในกำรก ำหนด
พื้นที่ส ำหรับกำรใช้ประโยชน์ร่วมกันของส่วนรวม ตำมพระรำชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ. 2457
ได้แก่ ที่ท ำเลเลี้ยงสัตว์ หนองน้ ำสำธำรณประโยชน์ ประกำศของสมุหเทศำภิบำล ประกำศของผู้ว่ำรำชกำร
จังหวัด เป็นต้น กำรสงวนหวงห้ำมดังกล่ำว ใช้ลักษณะกำรบรรยำยขอบเขตพื้นที่ กำรบัญญัติแบ่งกลุ่มพื้นที่