Page 104 - รายงานผลการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ
P. 104

๗๗



                   กำรจ ำแนกประเภทที่ดินในระยะนั้น ยังไม่สำมำรถด ำเนินกำรตำมที่ก ำหนดไว้ในกฎหมำยได้

                   เพรำะจะต้องใช้เจ้ำหน้ำที่และงบประมำณเป็นจ ำนวนมำก ในปี  พ.ศ.  2500  จอมพล สฤษดิ์  ธนะรัชต์
                   นำยกรัฐมนตรี ได้มีด ำริที่จะแก้ปัญหำกำรบุกรุกท ำลำยป่ำ ซึ่งเป็นทรัพยำกรที่ส ำคัญของชำติ โดยให้มีกำร

                   ใช้ที่ดินเป็นสัดส่วนอันเหมำะสมและมีผลต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ จึงได้มอบนโยบำย
                   ให้ส ำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ กระทรวงมหำดไทย และกระทรวงเกษตร

                   และสหกรณ์ ด ำเนินกำรพิจำรณำหำแนวทำงแก้ไข ซึ่งหน่วยงำนดังกล่ำวได้จัดท ำโครงกำรส ำรวจจ ำแนก
                   ประเภทที่ดินขึ้นและได้น ำเสนอต่อคณะรัฐมนตรี  โดยคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบเมื่อวันที่  19  เมษำยน

                   2503 และมีมติเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกำยน 2504 ส ำหรับกำรก ำหนดแนวเขตที่ดินของรัฐประเภทป่ำไม้
                   มีรำยละเอียด ดังนี้

                              (1.1) การก าหนดแนวเขตป่าไม้ถาวรโดยใช้การจ าแนกประเภทที่ดิน


                              กำรก ำหนดเขตป่ำไม้จำกแผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2504 -
                   พ.ศ.  2509)  โดยรัฐบำลให้ควำมส ำคัญในเรื่องกำรรักษำพื้นที่ป่ำอันเป็นทรัพยำกรส ำคัญของชำติ ที่ให้

                   ควำมอุดมสมบูรณ์แก่ดินที่เป็นแหล่งก ำเนิดของน้ ำและเป็นแหล่งผลิตทรัพยำกรธรรมชำติ  เพื่อมิให้
                   ถูกท ำลำยหมดไปในอัตรำสูงเกินสมควร  ซึ่งขณะนั้นประเทศไทยมีพื้นที่ป่ำไม้ประมำณ  187  ล้ำนไร่

                   จำกพื้นที่ของประเทศไทยทั้งหมดประมำณ 320.7 ล้ำนไร่ กำรรักษำพื้นที่ป่ำไม้ดังกล่ำวต้องด ำเนินกำรควบคู่
                   ไปกับนโยบำยทำงด้ำนเศรษฐกิจ  ดังนั้น  ควำมจ ำเป็นในขั้นแรกคือ กำรจ ำแนกประเภทที่ดินออกเพื่อให้

                   เป็นที่ท ำกิน และเพื่อกำรก ำหนดให้เป็นพื้นที่ป่ำสงวนทั่วประเทศ แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ
                   ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์หลัก 2 ประกำร คือ ให้รักษำพื้นที่ป่ำไม้ของประเทศไทยไว้เป็นสมบัติของชำติให้ได้

                   ร้อยละ 50 และให้หำพื้นที่ที่เหลือเพื่อน ำมำจัดสรรให้แก่ประชำชนที่จะเพิ่มขึ้นให้สมดุลกัน ขั้นตอนในกำร
                   ด ำเนินกำรจ ำแนกประเภทที่ดินออกเป็นที่ท ำกินและที่ป่ำสงวนทั่วประเทศ ก ำหนดขั้นตอนวิธีกำรกำรจ ำแนก

                   ครั้งแรกไว้ ดังนี้

                              1)  มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่  19  เมษำยน  พ.ศ.  2503  ให้กรมที่ดิน  กรมป่ำไม้  และ
                   ส่วนรำชกำรอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ด ำเนินกำรจ ำแนกที่ดินทั่วประเทศเพื่อให้มีเขตป่ำสงวนในขั้นต้น ประมำณ

                   250,000 ตำรำงกิโลเมตร หรือ 156 ล้ำนไร่ ซึ่งผลส ำรวจขณะนั้นเป็นพื้นที่ป่ำอยู่ 187 ล้ำนไร่ เมื่อจ ำแนก
                   ประเภทที่ดินตำมขั้นตอนนี้เสร็จแล้ว ท ำให้มีพื้นที่จัดสรรให้เกษตรกรได้เพิ่มขึ้นประมำณ 30 ล้ำนไร่ และ

                   6 ปีข้ำงหน้ำนับจำก พ.ศ. 2503 - พ.ศ. 2509 จะด ำเนินกำรจ ำแนกประเภทที่ดินให้ส ำเร็จได้

                              2) สงวนป่ำไม้ไว้เป็นสมบัติของชำติเป็นพื้นที่ 156 ล้ำนไร่ หรือประมำณ 250,000 ตำรำงกิโลเมตร

                   ต่อไป เมื่อพลเมืองเพิ่มขึ้นอำจลดพื้นที่ได้เหลือ 125 ล้ำนไร่ หรือประมำณ 200,000 ตำรำงกิโลเมตร
                   แยกเป็นป่ำต้นน้ ำล ำธำร 100,000 ตำรำงกิโลเมตร ในหกปีข้ำงหน้ำจะก ำหนดงบประมำณให้กรมป่ำไม้

                   ส ำหรับบ ำรุงรักษำป่ำ คุ้มครองสงวนป่ำ และปลูกป่ำเป็นจ ำนวนที่พอเพียงแก่กำรปรับปรุงกำรด ำเนินงำน
                   ให้ได้ผลตำมควำมมุ่งหมำย

                              3)  กำรจ ำแนกประเภทที่ดิน  และกำรสงวนป่ำไม้  เป็นงำนพัฒนำเศรษฐกิจที่เร่งด่วน  ที่มี

                   ควำมส ำคัญเป็นอันดับแรก และต้องเร่งด ำเนินกำรโดยได้ผลในระยะหกปีข้ำงหน้ำ  แต่งำนด้ำนนี้ต้องมี
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109