Page 99 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 99
การวิเคราะห์ข้อมูล
สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีวิธีการใช้ตัวบ่งชี้กระบวนการและตัวบ่งชี้ผล ดังนี้
ตัวชี้วัดกระบวนการน�ามาใช้เพื่อ
การประเมินระดับของกฎหมาย กฎ ระเบียบ นโยบาย หรือแนวทางปฏิบัติว่า
มีความสมบูรณ์เพียงพอที่จะปกป้องคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
มีการน�าไปใช้จริง เพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
บรรลุจริงตามวัตถุประสงค์ที่ก�าหนดไว้
การบ่งชี้ว่ากฎหมาย กฎ ระเบียบ นโยบาย หรือแนวทางปฏิบัติจะต้องมีการ
ปรับเปลี่ยนหรือปรับปรุง เพื่อให้บรรลุตามจุดมุ่งหมายของหลักการสิทธิมนุษยชน
หมายเหตุ: การวิเคราะห์ตัวชี้วัดกระบวนการนั้น ส่วนใหญ่เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลที่เกิดขึ้นจริง โดยอาศัยการเก็บ
รวบรวมข้อมูลประกอบหรือการวิเคราะห์ข้อมูลเพียงเล็กน้อย ผลลัพธ์ของการวิเคราะห์ใช้เพื่อท�าให้เห็นถึงกระบวนการ
ที่ก�าลังด�าเนินอยู่
ตัวชี้วัดผลลัพธ์อาจน�ามาใช้เพื่อ
วิเคราะห์ประเด็นปัญหาและข้อมูลที่สะท้อนความส�าเร็จด้านสิทธิมนุษยชน
ก�าหนดข้อมูลฐาน (baseline) เพื่อใช้ติดตามความก้าวหน้าของสถานการณ์ในภายหลัง
ติดตามความก้าวหน้า
สนับสนุนไปสู่การวิเคราะห์หรือการวิจัยอื่น ๆ เชิงลึกในเรื่องที่เกี่ยวข้อง (following research)
เมื่อมีการก�าหนดตัวชี้วัดผลลัพธ์และมีการเก็บรวบรวมข้อมูล สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติอาจเผยแพร่ผลการ
วิจัยและการวิเคราะห์ดังกล่าว เพื่อผลักดันให้หน่วยงานที่มีอ�านาจหน้าที่ปรับปรุงสิ่งต่าง ๆ ที่จ�าเป็น ทั้งนี้
ผลลัพธ์ของการเฝ้าระวังควรปรากฏในรายงานต่อ
สาธารณะ เช่น รายงานประจ�าปี หรือรายงานพิเศษต่าง ๆ
ของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
หากเป็นไปได้ รายงานควรจะระบุประเด็นปัญหาและ
ให้ค�าแนะน�ากระบวนการแก้ไข
สถาบันฯ ควรพยายามส่งเสริมให้น�าค�าแนะน�าเหล่านั้น
มาใช้อย่างเหมาะสม
98
มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ