Page 95 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 95

การใช้การส�ารวจ (surveys)

                   ในการเฝ้าระวัง



                     การส�ารวจเป็นวิธีการเก็บข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการเฝ้าระวัง ควรมีการหาค�าแนะน�าจากผู้เชี่ยวชาญในการออกแบบ
                   ส�ารวจ  การด�าเนินการส�ารวจ  และการวิเคราะห์ข้อมูลผลการส�ารวจ  อย่างไรก็ดี  สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติควรมี

                   ความเข้าใจทั่วไปในเรื่องของประเภทตัวอย่างที่อาจน�ามาใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลการส�ารวจ การก�าหนดตัวอย่าง
                   (sampling) ที่เหมาะสมอาจแบ่งได้เป็นทั้งหมด 3 ประเภท ได้แก่



                                1                              2                              3

                        ตัวอย่างความน่าจะเป็น           ตัวอย่างแบบใช้เกณฑ์         ตัวอย่างที่เกิดขึ้นแบบบังเอิญ
                         หรือตัวอย่างแบบสุ่ม           การตัดสินอย่างยุติธรรม          (haphazard sample)

                          (probability or              (judgement sample)
                         random sample)







                     ตัวอย่างแบบสุ่ม (random sampling)

                     เป็นการส�ารวจจากตัวอย่างที่จ�ากัด ผ่านการระบุแหล่งข้อมูลที่จะดึงข้อมูลแบบสุ่มโดยใช้ทฤษฎีความน่าจะเป็นทาง
                  คณิตศาสตร์ โดยทั่วไปจ�าเป็นต้องใช้นักสถิติในการออกแบบส�ารวจและตีความ ตัวอย่างเช่น ควรจะมีการจัดการเลือกตั้งขึ้น

                  ในแต่ละพื้นที่ ในกรณีที่มีชุมชนเป็นจ�านวน 100 ชุมชนในภูมิภาค และในส่วนของการศึกษาพลเมืองที่มีสิทธิในการเลือกตั้ง
                  สถาบันฯ ต้องการที่จะเฝ้าระวังเพื่อให้แน่ใจว่า มีการด�าเนินการด้านการศึกษาจริง และเกิดขึ้นอย่างเป็นธรรมและสมบูรณ์
                  ในส่วนของการศึกษาพลเมืองทั้งหมด  แทนที่จะมีการเฝ้าระวังแต่ละชุมชน  สถาบันฯ  ควรมีการสุ่มเลือกชุมชนประมาณ

                  10 ชุมชนที่จะกระท�าการเฝ้าระวัง และสรุปผลจากกลุ่มชุมชนเหล่านั้น เช่น การเลือกชุมชนโดยการสุ่มกับชื่อชุมชน


                     ตัวอย่างแบบใช้เกณฑ์การตัดสินอย่างยุติธรรม
                     (judgmental sampling)

                     เป็นการก�าหนดการเก็บตัวอย่างผ่านการไตร่ตรองและตัดสินโดยบุคคล
                  ตัวอย่างดังเช่นสถานการณ์ข้างต้น หากพบว่าในชุมชนจ�านวน 100 ชุมชนที่

                  มีการเลือกตั้ง ประชากรประมาณครึ่งหนึ่งในชุมชน ส่วนใหญ่เป็นชนกลุ่มที่
                  มีชาติพันธุ์เดียวกัน ในขณะที่อีกครึ่งหนึ่งเป็นชนกลุ่มที่มีความแตกต่างทาง
                  ชาติพันธุ์ซึ่งจะมีความเสียเปรียบในสังคม สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

                  จ�าเป็นต้องเลือกประชากรกลุ่มตัวอย่างที่เป็นธรรมต่อชนกลุ่มน้อย
                  โดยหลังจากนั้นอาจใช้วิธีการส�ารวจแบบสุ่มจับตัวแทนส�าคัญในชุมชนของ
                  ชนกลุ่มน้อยก็ได้







               94
           มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100