Page 96 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 96

ตัวอย่างที่เกิดขึ้นแบบบังเอิญ (haphazard sampling)
                         เป็นการก�าหนดการเก็บตัวอย่างที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์นั้นโดยไม่ได้ก�าหนดมาก่อน ในขณะที่การเก็บตัวอย่าง

                      รูปแบบนี้อาจไม่เป็นที่เชื่อถือและมีเหตุผลถูกต้องเหมือนรูปแบบอื่น ๆ แต่ยังคงสามารถใช้เป็นตัวบ่งชี้สถานการณ์กว้าง ๆ ได้






                     5.3    แนวทางปฏิบัติงานด้านการเฝ้าระวังสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศ





                                                      การก�าหนดขอบเขตของ
                                                        กิจกรรมการเฝ้าระวัง

                                                               1






                                                         กระบวนการในการ
                                                         เฝ้าระวังสถานการณ์

                                                       สิทธิมนุษยชนในประเทศ
                          การด�าเนินกิจกรรม             อาจด�าเนินการได้ดังนี้        การวางแผนกิจกรรม
                               การเฝ้าระวัง  3                                    2   การเฝ้าระวัง





                      5.3.1  การก�าหนดขอบเขตของกิจกรรมการเฝ้าระวัง
                      การเฝ้าระวังด้านสิทธิมนุษยชนสามารถกระท�าได้อย่างครอบคลุมเกือบทุกพื้นที่ของกิจกรรมของมนุษย์ จากปัญหา

                    เศรษฐกิจและปัญหาสังคมที่เกี่ยวข้องกับสิทธิทางการเมืองและพลเมือง
                       สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติไม่สามารถเฝ้าระวังและรายงานผลในทุก ๆ สถานการณ์เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนของประเทศ
                    แต่จะเป็นการระบุประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนที่น่ากังวลมากที่สุดที่เกิดขึ้นในประเทศ  แล้วมุ่งเน้นไปที่การเฝ้าระวังเหตุการณ์

                    เหล่านั้นตลอดทั้งปี หรือบางสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติอาจมีการวางแผนตารางเป็นระยะเวลาหลายปี ในการเฝ้าระวังสิทธิ
                    ด้านต่าง ๆ ในแต่ละปีเพื่อให้สิทธิทุกด้านมีการตรวจสอบอย่างทั่วถึง

                      5.3.2   การวางแผนกิจกรรมการเฝ้าระวัง

                      สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติส่วนใหญ่ติดตามความก้าวหน้าเป็นช่วงระยะเวลา  เพื่อให้เข้าใจสถานการณ์ที่เกิดขึ้น  ณ  จุด
                    เวลาเริ่มต้น หรือเวลาฐาน (baseline) และปัจจัย หรือตัวบ่งชี้ (indicators หรือ benchmarks) ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลง

                    ในเชิงก้าวหน้าหรือถดถอย ในบางครั้ง การเฝ้าระวังจะก�าหนดเป้าหมาย (เกณฑ์มาตรฐาน) ส�าหรับผู้ที่เกี่ยวข้องในการส่งเสริม
                    และคุ้มครองสิทธิมนุษยชน วิธีการนี้อาจถูกน�ามาใช้กับสิทธิทุกประเภท แต่จะเป็นประโยชน์ในการติดตามผลส�าเร็จที่เกี่ยวข้อง
                    กับสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม โดยชนิดของตัวบ่งชี้ที่มักใช้ในการเฝ้าระวังและติดตามความก้าวหน้า







                                                                                                                 95
                                                                       มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101