Page 94 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 94
โดยทั่วไป กิจกรรมการเฝ้าระวังที่ด�าเนินการโดยสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติควรจะต้อง
มีการจัดการ (วางแผน จัดสรรทรัพยากร ควบคุม และประเมินผล)
ท�าอย่างต่อเนื่องและสม�่าเสมอ
ท�าเป็นวงจรปกติในส�านักงาน
ท�างานในเชิงรุก เมื่อมีเหตุการณ์ส�าคัญเกิดขึ้น
มุ่งเน้นผลลัพธ์ และการบันทึกเหตุการณ์จริงบนหลักสิทธิมนุษยชน
ทั้งนี้ อาจมีบางโอกาสที่สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีความจ�าเป็นที่จะต้องส�ารวจและเฝ้าระวังบางสถานการณ์ที่
ไม่ได้วางแผนล่วงหน้า อย่างไรก็ดี กิจกรรมการเฝ้าระวังส่วนใหญ่สามารถคาดการณ์ได้ และท�าเป็นวงจรปกติดังนี้
ประการแรก
สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ควรระบุประเด็นที่จะเฝ้าระวังตามล�าดับ
ความส�าคัญ ซึ่งควรสอดคล้องกับ
1) ประเด็นปัญหาส�าคัญด้านสิทธิมนุษยชนของ ประการที่สอง
ประเทศ 2) โอกาสและความเสี่ยงของการละเมิด สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
สิทธิมนุษยชนในประเทศ 3) ความสามารถในการ ควรวางแผนและตัดสินใจในวิธีการ
ด�าเนินการเฝ้าระวังจากข้อจ�ากัดด้าน กระบวนการ/เทคนิคที่ใช้ กรอบเวลา รวมถึง
งบประมาณ ทรัพยากร และระยะเวลา โครงสร้างของระบบข้อมูลที่ต้องการจะเฝ้าระวัง
(เช่น การระบุลักษณะข้อมูลและแหล่งข้อมูลที่
ต้องการ หรือการระบุหรือพัฒนาเครื่องมือ
การเก็บข้อมูล ฯลฯ)
ประการที่สาม
สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ด�าเนินการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล
ตามประเด็นการเฝ้าระวังที่ก�าหนดไว้ ประการสุดท้าย
สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
น�าเสนอผลลัพธ์ ผ่านการรายงาน
ผลการด�าเนินการเฝ้าระวัง
และจัดท�าข้อเสนอเพื่อรณรงค์
ให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
93
มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ