Page 97 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 97
ตัวชี้วัดกระบวนการ
เป็นตัวชี้วัดว่ามีการด�าเนินการที่จะท�าให้สิทธิมนุษยชนที่ได้รับการหยิบยกขึ้นนั้น มีการน�าไปปรับปรุง หรือท�าให้เกิด
การคุ้มครองขึ้น เช่น เกิดการร่างกฎหมาย กฎระเบียบ นโยบาย หรือแนวทางปฏิบัติ
ตัวชี้วัดผลลัพธ์
เป็นตัวชี้วัดที่แสดงผลของการคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิมนุษยชนที่เพิ่มมากขึ้น
ตัวอย่างเช่น รัฐบาลผ่านกฎหมายที่เกี่ยวกับการทรมาน เป็นตัวบ่งชี้กระบวนการ ในขณะที่จ�านวนการทรมานที่ลดน้อยลง
คือ ตัวบ่งชี้ผลลัพธ์
การก�าหนดตัวชี้วัดกระบวนการจะค่อนข้างตรงไปตรงมาดังนี้
1 2 3
มีการระบุว่าควรแก้กฎหมาย มีการระบุวัตถุประสงค์ของกฎหมาย มีกระบวนการในการด�าเนินการ
กฎระเบียบ นโยบาย และ กฎระเบียบ นโยบาย หรือแนวทาง แก้ไขการละเมิดสิทธิมนุษยชน
แนวทางปฏิบัติใดที่น�าไปใช้ ปฏิบัติใหม่
ทั้งทางตรงหรือทางอ้อม
การระบุตัวชี้วัดผลลัพธ์มีความซับซ้อนกว่าการก�าหนดตัวชี้วัดกระบวนการ โดยคณะกรรมการประจ�าสนธิสัญญาของ
สหประชาชาติ (treaty bodies) ได้ร่างแนวทางการพัฒนาในส่วนแบบฟอร์มและเนื้อหาของรายงาน ซึ่งทั้งสองส่วนได้ก�าหนด
ความต้องการของข้อมูลส�าหรับการรายงานผลของประเทศไว้แล้ว (ดูได้ที่ www.ohchr.org) เอกสารอ้างอิงเหล่านี้จะค่อนข้าง
ครอบคลุม สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติอาจเลือกใช้เครื่องมือเหล่านี้เป็นต้นแบบที่จะก�าหนดตัวบ่งชี้ที่เกี่ยวข้องส�าหรับ
กิจกรรมการเฝ้าระวัง
ในสถานการณ์ที่สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติต้องก�าหนดตัวชี้วัดความส�าเร็จของการด�าเนินการ ควรก�าหนดตัวชี้วัดความ
ส�าเร็จที่เกี่ยวข้องกับเป้าประสงค์ (relevant) สามารถเข้าใจได้ง่าย (understandable) และสามารถน�าไปใช้ประโยชน์ต่อได้
(useable) ตัวชี้วัดที่ดีจะช่วยให้การวัดผลเป็นไปอย่างชัดเจน และน�าไปสู่การปรับปรุงในระยะยาว
5.3.3 การด�าเนินกิจกรรมการเฝ้าระวัง
การรวบรวมข้อมูล
การรวบรวมข้อมูลเพื่อประกอบการเฝ้าระวังตามทฤษฎีแล้วควรจะให้ความสนใจกับการวิจัยปฐมภูมิและการหา
ข้อเท็จจริง อย่างไรก็ตาม สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติส่วนใหญ่มักเลือกที่จะใช้แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ (ข้อมูลจากผู้อื่น) ในการ
ประเมินผล ข้อมูลทุติยภูมิจะเป็นประโยชน์เนื่องจากข้อมูลเหล่านั้นประหยัดกว่าโดยเปรียบเทียบ และมีการใช้ก�าลังคนน้อยกว่า
ในการได้มาซึ่งข้อมูล นอกจากนี้ มีการวิจัยข้อมูลและการรวบรวมข้อมูลที่เผยแพร่ในระดับประเทศอยู่อย่างมากมายหลากหลาย
การทุ่มเททรัพยากรเพื่อเก็บข้อมูลใหม่อาจไม่มีความจ�าเป็นในล�าดับต้น ๆ ความเป็นไปได้ของแหล่งที่มาของข้อมูลทุติยภูมิ
มีดังนี้
96
มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ