Page 102 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 102

การก�าหนดอ�านาจในการเฝ้าระวังของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติไว้ในกฎหมายระดับประเทศเป็นสิ่งที่ส�าคัญ

                    โดยสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติควรมีอ�านาจในการเข้าไปในสถานที่คุมขังได้โดยไม่ต้องมีการแจ้งล่วงหน้าใด ๆ หรือ
                    สามารถดูบันทึกที่เป็นทางการต่าง ๆ และท�าส�าเนาได้ตามต้องการ รวมถึงต้องสามารถเฝ้าดูและพูดคุยกับผู้ถูกคุมขังโดย
                    ล�าพังในสถานการณ์ใกล้ชิด หรือสามารถขอพบผู้ที่ถูกคุมขังแต่ละรายตามที่ต้องการได้ อ�านาจเหล่านี้จะท�าให้มั่นใจว่า

                    การเฝ้าระวังสามารถเข้าถึงข้อมูลเพื่อประเมินสถานการณ์อย่างเหมาะสมได้




                       5.4.1  การวางแผนกิจกรรมการเฝ้าระวัง
                       สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติควรตรวจสอบสถานที่คุมขังทุกแห่ง เพื่อ

                    เสริมสร้างการคุ้มครอง และเพื่อให้แน่ใจว่ามีการใช้มาตรฐานรูปแบบเดียวกัน
                    ทั่วประเทศ ซึ่งรวมไปถึงสถานที่สอบสวนและคุมขังที่ไม่เป็นทางการ ควรมี
                    การเข้าเยี่ยมสถานที่คุมขังมากกว่าหนึ่งครั้ง ซึ่งเป็นสิ่งจ�าเป็นในการวัดความ

                    คืบหน้าเป็นรายสถานที่และในภาพรวมทั้งหมด เพื่อให้มั่นใจว่าสถานการณ์ใน
                    สถานที่คุมขังไม่ได้ความรับความส�าคัญน้อยลง  เนื่องจากสถาบันสิทธิมนุษยชน
                    แห่งชาติให้ความสนใจไปยังด้านอื่น



                       การท�างานส่วนมากที่เกี่ยวข้องกับการเฝ้าระวังในสถานที่คุมขังจะมุ่งเน้นไปที่ตัวชี้วัดผลลัพธ์ ดังนั้น การออกแบบเครื่องมือ
                    ในการเฝ้าระวังก็เป็นสิ่งที่จ�าเป็นเช่นกัน สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติจ�านวนมากมักพัฒนาแบบฟอร์มรายการตรวจสอบ

                    (checklist) ในการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของผู้ถูกคุมขัง ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ช่วยก�าหนดขอบเขต
                    การด�าเนินงาน และท�าให้มั่นใจว่าการเฝ้าระวังมุ่งเน้นความสนใจไปที่ประเด็นปัญหาที่ส�าคัญระดับประเทศ นอกจากนี้ แบบฟอร์ม
                    รายการการตรวจสอบยังสร้างให้เกิดมาตรฐานการเก็บข้อมูล และช่วยให้สามารถน�าไปเปรียบเทียบกับข้อมูลอื่น ๆ และก�าหนด

                    แนวโน้มต่าง ๆ ได้






                          สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติควรรวบรวมตัวบ่งชี้กระบวนการ เพื่อท�าให้มั่นใจว่ามีการคุ้มครองสิทธิต่าง ๆ
                        ของผู้ถูกคุมขัง ซึ่งควรมีการเก็บรวบรวมข้อมูลมูลไว้อย่างน้อย ดังนี้

                          •  ระบบการร้องเรียนส�าหรับผู้ถูกคุมขัง ตามมาตรฐานขั้นต�่าสุดส�าหรับการดูแลผู้ถูกคุมขัง
                          •  การจัดอบรมเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนเฉพาะด้านให้กับเจ้าหน้าที่ที่มีการติดต่อกับผู้ถูกคุมขัง
                          •  การมีขั้นตอนส�าหรับครอบครัวของผู้ถูกคุมขัง ในการรายงานความผิดปกติต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น

                               แก่สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ



                          ทั้งนี้ ระบบสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศยังอาจสามารถช่วยสนับสนุนการด�าเนินงานในระดับชาติได้เช่นกัน
                        โดยเฉพาะคณะท�างานที่ชื่อ Working Group on Arbitrary Detention











                                                                                                                101
                                                                       มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107