Page 101 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 101
สถาบันฯ สามารถเพิ่มโอกาสในการขับเคลื่อนให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ในเชิงบวกได้ หากน�าเสนอข้อแนะน�าที่สามารถด�าเนินการได้จริงและ
สมเหตุสมผล โดยทั่วไป ค�าแนะน�าที่น้อยแต่ได้ใจความส�าคัญ มักจะดีกว่า
ค�าแนะน�าที่มีความยาว และมีรายละเอียดที่ดูไม่สมจริงและไม่น่าเชื่อถือ
การน�าเสนอข้อมูลผลการเฝ้าระวังและการท�ารายงานเป็นเพียงแค่ขั้นตอนหนึ่งเท่านั้น สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติควร
พิจารณาวิธีที่ดีที่สุดที่จะน�าเสนอผลการวิจัยผ่านการใช้สื่อ (media) ตัวอย่างเช่น การสนับสนุนและสร้างความร่วมมือกับ
ภาคประชาสังคมอื่น ๆ ในการรณรงค์ผลการวิจัยหรือการส่งเสริมให้มีความเข้าใจเกี่ยวกับผลการเฝ้าระวัง และความส�าคัญของ
การเคารพในหลักสิทธิมนุษยชน
5.4 แนวทางปฏิบัติงานด้านการเฝ้าระวังสถานที่คุมขัง
การละเมิดสิทธิมนุษยชนของผู้ถูกควบคุมตัวเป็นกรณีที่เกิดขึ้นโดยทั่วไปในระดับสากล การเฝ้าระวังสถานที่คุมขังนั้น
เป็นกระบวนการที่สอดคล้องกับมาตรฐานสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ และยังสามารถช่วยป้องกันการเกิดเหตุละเมิดสิทธิ
มนุษยชนที่จะขัดแย้งกับพันธกรณีตามกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง อนุสัญญาต่อต้านการ
ทรมานฯ และพิธีสารเลือกรับ (Optional Protocol) อย่างไรก็ดี มาตรฐานขั้นต�่าสุดในการดูแลนักโทษนั้น อาจไม่ได้ถูกก�าหนด
โดยเจ้าหน้าที่เรือนจ�า แต่อาจเป็นเพราะ “ความกังวลในสิทธิของนักโทษ” อาจจะไม่ได้อยู่ในประเด็นส�าคัญที่รัฐบาลให้ความ
สนใจ การขาดแคลนความพร้อมในการคุมขัง ส่วนใหญ่มักเป็นผลจากการที่มีทรัพยากรไม่เพียงพอ และสิ่งนี้ก็อยู่นอกเหนือการ
ควบคุมของเจ้าหน้าที่เรือนจ�า
สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีพันธกรณีในการเฝ้าระวังสถานที่คุมขัง เพื่อให้แน่ใจว่ามีการปฏิบัติอย่างมี
มนุษยธรรม ตามข้อ 10 ของกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองที่ก�าหนดไว้ว่า “ทุกคน
ที่ถูกลิดรอนเสรีภาพของตน” ต้องได้รับการปฏิบัติอย่างมีมนุษยธรรม ซึ่งข้อความนี้ขยายความเกินจากนักโทษ แต่ยัง
รวมไปถึงบุคคลทุกคนที่ถูกลิดรอนเสรีภาพ “การปฏิบัติอย่างไร้มนุษยธรรม” นั้นมีความหมายมากกว่า “ทรมานหรือ
โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือการปฏิบัติอย่างต�่าทราม หรือการลงโทษ” ตามที่กล่าวไว้ในข้อ 10 ของกติการะหว่างประเทศฯ
การเฝ้าระวังควรมีการก�าหนดมาตรฐานเพื่อให้สามารถติดตามความก้าวหน้า
ได้ โดยควรด�าเนินการร่วมกับเจ้าหน้าที่สถานคุมขัง และผู้ที่รับผิดชอบ
ในการจัดสรรงบประมาณ รวมถึงสมาชิกรัฐสภาและเจ้าหน้าที่จากส�านัก
งบประมาณ/กระทรวงการคลัง ทั้งนี้ “สถานที่คุมขัง” ไม่ได้จ�ากัดความหมาย
อยู่ที่เรือนจ�าและคุก แต่ค�านี้ยังครอบคลุมไปถึงสถานที่อื่น ๆ เช่น ศูนย์กักกัน
ตรวจคนเข้าเมือง และศูนย์การแพทย์ (รวมถึงผู้ที่มีความผิดปกติทางจิต)
ซึ่งสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติไม่ควรที่จะละเลยหน้าที่รับผิดชอบในเรื่องนี้
100
มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ