Page 83 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 83

4.5     แนวทางปฏิบัติงานด้านการบริหารจัดการผลการตรวจสอบเพื่อคุ้มครองด้านสิทธิมนุษยชน


                    การตัดสินเป็นจุดสูงสุดของกระบวนการตรวจสอบหาข้อเท็จจริง  และโดยทั่วไปจะมีการก�าหนดไว้ในกฎหมาย  อย่างไรก็ดี

                 โดยทั่วไปบุคคลของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติหนึ่งคนหรือมากกว่านั้นจะเป็นผู้ตัดสิน เช่น หากเป็นในรูปแบบ
                 คณะกรรมการ ก็จะให้คณะกรรมการตามจ�านวนที่ก�าหนดไว้เป็นผู้ตัดสิน อย่างไรก็ตาม บางสถาบันฯ มอบหมายการตัดสินใจ
                 อย่างเป็นทางการให้กับเจ้าหน้าที่เพียงคนเดียว หรือกลุ่มเจ้าหน้าที่เพียงไม่กี่คนเท่านั้น ในสถานการณ์เหล่านี้มักจะมี

                 การตรวจสอบในกระบวนการที่สร้างขึ้น เพื่อให้มั่นใจว่าการตัดสินจะไม่เกิดความเสียหายและมีความสอดคล้องกัน



                                                      สรุปว่าเกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชนและหาทางการแก้ไขที่เหมาะสมเพื่อให้
                           โดยปกติ
                                                      หน่วยงานหรือบุคคลที่มีหน้าที่ไปปฏิบัติภายในระยะเวลาที่ก�าหนด
                   แนวทางในการบริหารจัดการ
                                                      สรุปว่าไม่มีการละเมิดเกิดขึ้น ดังนั้น การพิจารณาข้อร้องเรียนควรได้รับการยุติ
                    ผลการตรวจสอบสามารถ
                                                      สรุปว่าควรสืบสวน หรือหาข้อมูลเพิ่มเติมก่อนกระท�าการตัดสินใจขั้นสุดท้าย
                     ด�าเนินการได้อย่างน้อย
                                                      สรุปว่าเรื่องนี้ควรได้รับการส่งต่อไปยังหน่วยงานหรือบุคคลอื่นที่มีอ�านาจ
                          ดังต่อไปนี้
                                                      เกี่ยวข้อง





                        แม้ว่าจะไม่มีแนวทางแก้ไขที่เป็นมาตรฐานในทุกกรณี แต่หากสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติพบว่ามีการ

                                ละเมิดสิทธิมนุษยชนขึ้น ก็สามารถมีกระบวนการแก้ไขได้อย่างน้อยดังต่อไปนี้







                          การท�าให้ผู้ถูกละเมิดเหมือนไม่ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน
                          (Make the victim whole)


                         หมายถึงการจัดการให้ผู้ที่ถูกละเมิดอยู่ในภาวะที่ไม่เหมือนถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน  ทั้งนี้  กระบวนการดังกล่าวไม่
                      สามารถระบุวิธีที่ชัดเจนได้ ขึ้นกับลักษณะและความรุนแรงของการละเมิดที่ถูกกระท�า และผลกระทบที่จะมีต่อผู้ถูกละเมิด
                      โดยรายการที่จะแสดงต่อไปนี้เป็นตัวอย่างของการแก้ไขที่ควรได้รับการพิจารณา

                             มีค�าสั่งให้หยุดการละเมิด
                             มีค�าสั่งให้ชดเชยผู้ถูกละเมิด ตามผลของความเสียหายที่เกิดขึ้นทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น การสูญเสีย

                         รายได้การจ้างงาน ต้นทุน และการฟื้นฟูสุขภาพ
                             มีค�าสั่งให้ชดเชยผู้ถูกละเมิดส�าหรับความเจ็บปวดและความทุกข์ทรมานที่เกิดขึ้น
                             มีค�าสั่งให้หน่วยงานด�าเนินการเพื่อลดความเสียหาย เช่น จ้างบุคคลกลับมาท�างานใหม่ หากพบว่ามีการเลิกจ้าง

                         บุคคลผู้นั้นด้วยเหตุผลที่เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน








               82
           มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88