Page 84 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 84

การท�าให้ผู้กระท�าผิด/ละเมิดสิทธิมนุษยชน

                               ได้รับการด�าเนินการที่เหมาะสม

                          วิธีการแก้ไขเพื่อให้แน่ใจว่าผู้กระท�าผิดรับผิดชอบต่อการกระท�าของพวกเขา จะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับการละเมิดที่

                       เกิดขึ้น การละเมิดสิทธิมนุษยชนบางอย่างเป็นการละเมิดในลักษณะของคดีอาญา ซึ่งสถาบันฯ ไม่ได้มีอ�านาจทางกฎหมาย
                       ที่จะมีบทลงโทษทางอาญาได้ จึงควรส่งต่อไปให้ศาลด�าเนินการตามกระบวนการยุติธรรมซึ่งอาจจะมีความแตกต่างกันใน
                       แต่ละประเทศ




                               การป้องกันไม่ให้มีการละเมิดอื่น ๆ
                               ที่มีลักษณะท�านองเดียวกันนั้นเกิดขึ้นอีก


                          เป็นวิธีการแก้ไขที่น่าสนใจ แต่มักจะถูกมองข้ามเสมอ เช่น หากการละเมิดสิทธิมนุษยชนเกิดขึ้นในสถานที่ท�างาน และมี
                       การชดเชยเรียบร้อยแล้ว แต่นายจ้างอาจจะต้องด�าเนินการอื่น ๆ เพื่อป้องกันการละเมิดที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต เช่น การ

                       ฝึกอบรมหัวหน้างานในเรื่องหน้าที่  ความรับผิดชอบตามสิทธิมนุษยชน หรือการพัฒนากลไกที่มีประสิทธิภาพเพื่อบังคับใช้
                       นโยบายด้านสิทธิมนุษยชนที่มีอยู่ในองค์กร ฯลฯ  ในท�านองเดียวกัน  ถ้าผลของการละเมิดสิทธิมนุษยชนเกิดจากการขาด
                       กฎหมายของรัฐที่เหมาะสม  หรือกฎระเบียบ  ข้อบังคับ  หรือนโยบายที่มีไม่เพียงพอหรืออ่อนเกินไปที่จะน�ามาใช้ป้องกัน

                       การละเมิดสิทธิมนุษยชน สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติก็สามารถเสนอให้เกิดการปรับแก้กฎหมาย ระเบียบ นโยบาย
                       เหล่านี้ได้  เพื่อท�าให้มั่นใจว่ามีการป้องกันสาเหตุของการละเมิดเหล่านี้  และในระยะยาว  ก็จะท�าให้การละเมิดที่มีลักษณะ

                       ท�านองนี้ไม่เกิดขึ้นอีก





                            การเผยแพร่ผลการตรวจสอบ






                         หลักการปารีสให้อ�านาจเต็มแก่สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในการเผยแพร่ค�าแนะน�าและค�าตัดสิน การที่สถาบัน
                      สิทธิมนุษยชนแห่งชาติเผยแพร่ผลการตรวจสอบนั้น เป็นขั้นตอนส�าคัญในการสร้างความน่าเชื่อถือของกลไกการ

                      ร้องเรียน และแสดงผลการท�างานที่มีประสิทธิภาพภายใต้ขอบเขตของอ�านาจกึ่งตุลาการที่ได้รับ
                         การเผยแพร่จะช่วยให้ความคิดเห็นของสถาบันฯ ออกสู่สาธารณะ และสนับสนุนให้เกิดการอภิปรายอย่างกว้างขวาง
                      ซึ่งเป็นสิ่งส�าคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากสาเหตุของการร้องเรียนเกิดจากปัญหาอย่างการเลือกปฏิบัติหรือความอยุติธรรม

                      อันจะส่งผลต่อการตอบสนองจากรัฐสภาหรือหน่วยงานอื่น ๆ ในรัฐบาล การเผยแพร่ผลการตรวจสอบยังสามารถเป็น
                      วิธีการที่มีประสิทธิภาพในการสร้างความมั่นใจให้ผู้ร้องเรียนทั้งในปัจจุบันและอนาคต
                      ว่าสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีการด�าเนินการในเรื่องการละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างจริงจัง

                         การเผยแพร่ผลการตรวจสอบและการตัดสินควรต้องค�านึงถึงความต้องการที่จะรักษา
                      ความลับของคู่กรณี เช่น อาจไม่จ�าเป็นต้องเผยแพร่รายละเอียดของผู้ร้องเรียนเสมอไป







                                                                                                                 83
                                                                       มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89