Page 88 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 88
บทบาทของผู้ไกล่เกลี่ย
มีอย่างน้อยดังนี้
ช่วยให้คู่กรณีแสดงความคิดเห็นของตน
ช่วยให้คู่กรณีเข้าสู่ข้อตกลง
อธิบายหลักพื้นฐานของสิทธิมนุษยชน
ท�าให้ความมั่นใจว่าจะไม่มีฝ่ายใดเสียผลประโยชน์จากการไกล่เกลี่ย
ช่วยคู่กรณีให้บันทึกข้อตกลง
ให้ความมั่นใจว่าจะเคารพในข้อตกลง
น�าข้อมูลกลับไปเพื่อประกอบการตรวจสอบในขั้นตอนถัดไป
หากไกล่เกลี่ยไม่ส�าเร็จ
หมายเหตุ: ในกรณีส่วนใหญ่ ข้อเท็จจริงที่ค้นพบในระหว่างการไกล่เกลี่ยไม่สามารถใช้ได้ใน
การตรวจสอบหาข้อเท็จจริง
บทบาทของผู้ประนีประนอม
มีอย่างน้อยดังนี้
ชี้แจงให้คู่กรณีเข้าใจผลการสอบสวน รวมทั้งผลลัพธ์ที่อาจเกิดขึ้น
ตามความเหมาะสม
ช่วยให้คู่กรณีน�าเสนอมุมมองของแต่ละฝ่าย
ช่วยให้คู่กรณีระบุความต้องการของแต่ละฝ่าย
สนับสนุนให้เกิดข้อตกลงที่ยอมรับร่วมกัน ซึ่งเป็นผลประโยชน์
ที่ทั้งสองฝ่ายรับได้ และเป็นประโยชน์ต่อสังคม/สาธารณะ
ช่วยให้คู่กรณีบันทึกข้อตกลงและเสนอต่อคณะกรรมการเพื่อ
พิจารณาอนุมัติ พร้อมข้อเสนอแนะ
ท�าให้แน่ใจว่าข้อตกลงจะถูกน�าไปใช้
การต่อรองสัญญาข้อตกลง
สัญญาข้อตกลงควรเขียนไว้เป็นลายลักษณ์อักษร และควรมีการลงชื่อทั้งสองฝ่าย โดยปกติมักจะใช้รูปแบบของสัญญา
กฎหมาย เพื่อให้มีผลบังคับใช้ การแก้ไขปัญหาควรจะสอดคล้องกับ
กฎหมายสิทธิมนุษยชนในประเทศและหลักสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ
สามารถแก้ไขความคับข้องใจของคู่กรณีทั้งสองฝ่าย และ
มีความยืนยง เช่น สามารถน�าไปใช้ในการจัดการกับข้อพิพาทที่มีลักษณะคล้ายกันในอนาคต
สัญญาข้อตกลงที่เป็นผลเกิดจากการประนีประนอมควรต้องเหมาะสมและสอดคล้องกับผลประโยชน์ต่อสังคม/สาธารณะ
87
มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ