Page 78 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 78
หลักฐานทางกายภาพ คือ หลักฐานของธรรมชาติทางกายภาพที่สามารถพิสูจน์หรือหักล้าง
ข้อกล่าวหาได้ เช่น เลือด อาวุธ ลายนิ้วมือ หรือรอยฟกช�้าบนร่างกายของผู้ร้องเรียน
หลักฐานทางกายภาพ
หลักฐานอ้างอิงที่เป็นเอกสารอ้างอิงถึง ภาพถ่าย บันทึกเหตุการณ์ ความรู้สึกหรือข้อสังเกต
จดหมาย รายงาน (จากองค์การเอกชน ต�ารวจ ฯลฯ) การบันทึกหรือสมุดบันทึกของต�ารวจ
หลักฐานอ้างอิงที่เป็นเอกสาร และโรงพยาบาล ข้อความบันทึกรายวัน เป็นต้น ที่อาจใช้เพื่อช่วยพิสูจน์หรือหักล้างข้อกล่าวหา
(ทั้งเอกสารทางกายภาพ นอกจากนั้น ยังรวมไปถึงการบันทึกของคอมพิวเตอร์และอีเมล ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์หรือดิจิทัล
และข้อมูลดิจิทัล) รูปแบบอื่น ๆ ที่เป็นรูปแบบส�าคัญของหลักฐาน
หลักฐานพยาน ประกอบด้วยค�าให้การของคู่กรณีและพยาน รวมไปถึงบุคคลอื่น ๆ ที่อาจอยู่ใน
ต�าแหน่งที่สามารถร่วมมือได้ หรือเป็นส่วนหนึ่งของหลักฐาน
พยาน
การสัมภาษณ์
เป็นเรื่องส�าคัญมากส�าหรับผู้สัมภาษณ์ที่จะต้องมีเทคนิคที่เชี่ยวชาญในการสัมภาษณ์ การสัมภาษณ์พยานควรจะมี
โครงสร้าง การจัดการ และปฏิบัติอย่างมืออาชีพ ทั้งนี้ ควรมีกระบวนการดังต่อไปนี้
ผู้สัมภาษณ์ควรจดบันทึกในระหว่างที่มีการสัมภาษณ์ และบันทึกเหล่านั้นควรจะสรุปให้เร็วที่สุดหลังการ
สัมภาษณ์เสร็จสิ้น บันทึกควรมีการระบุอย่างเฉพาะเจาะจงและมีความถูกต้องแม่นย�า และสรุปข้อมูลที่เป็น
ประเด็นส�าคัญของเรื่องที่ได้มาจากพยาน ซึ่งจะน�ามาเป็นชิ้นส่วนส�าคัญในคดีต่อไป นอกจากค�าพูดของพยาน
จะมีความส�าคัญแล้ว บันทึกที่ได้จากการสัมภาษณ์ควรที่จะต้องตรงตามค�าให้การของผู้ให้สัมภาษณ์ โดยไม่มี
การตีความตามความเข้าใจของผู้จดบันทึก
ผู้สัมภาษณ์ต้องบันทึกค�าให้การที่ตรงและถูกต้องแม่นย�าเป็นหลักฐาน เพื่อป้องกันการตีความที่ผิดพลาด ดังนั้น
ค�าให้การจะต้องไม่ถูกบันทึกไว้โดยไม่ได้รับความยินยอมจากพยาน ซึ่งเป็นสิ่งที่ส�าคัญอย่างยิ่ง โดยเฉพาะเมื่อ
ความปลอดภัยหรือการรักษาความปลอดภัยเป็นสิ่งที่ขั้นตอนนี้ควรมีการวางระบบไว้เพื่อคุ้มครองผู้ให้สัมภาษณ์
โดยทั่วไปแล้ว การบันทึกเสียงเป็นสิ่งที่จ�าเป็นเช่นกัน
77
มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ