Page 80 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 80
ผู้สัมภาษณ์ควรตรวจสอบสิ่งที่ผู้ให้สัมภาษณ์เพิ่งพูดไป เพื่อที่จะแน่ใจได้ว่ารายละเอียดที่เกี่ยวข้องทั้งหมด
ถูกต้อง ดังนั้น ผู้สัมภาษณ์จึงต้องเข้าใจในสิ่งที่ผู้ให้สัมภาษณ์พูดทั้งหมด และสามารถทดสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูล
โดยผู้สัมภาษณ์อาจใช้เทคนิคทั่วไปในการสัมภาษณ์ดังนี้
ใช้ค�าถามปลายเปิด หลีกเลี่ยงความคิดเห็น
หลีกเลี่ยงค�าถามที่มีการ ในการตัดสินคดี
ชี้น�า หรือค�าถามเชิงลบ
ตรวจสอบสมมติฐาน
ให้เวลาพยาน โดยถามว่า “คุณรู้ได้อย่างไร”
หลังจากเสร็จสิ้น และส่งเสริมให้น�าพยานกลับไป
การสัมภาษณ์เพื่อให้แน่ใจ ยังเหตุการณ์ (เช่น ให้พยาน
ว่าไม่มีอะไรเพิ่มเติม
หลับตาและนึกถึงเหตุการณ์
ที่เกิดขึ้น)
หลีกเลี่ยงภาษาเฉพาะ
และศัพท์เทคนิค
ในประเด็นของความน่าเชื่อถือ ผู้สัมภาษณ์อาจพิจารณา “bouncing around” นั่นคือ การถามค�าถาม
ตามล�าดับ หรือการถามค�าถามเดียวกันในช่วงเวลาที่ต่างกัน และในรูปแบบที่แตกต่างกัน และยังเป็นสิ่งที่ส�าคัญที่
ผู้สัมภาษณ์ต้องไม่บอกพยานอีกคนหนึ่งถึงสิ่งที่อีกคนได้พูดไว้ เพราะมันไม่เพียงแต่เป็นการละเมิดการรักษาความลับ
แต่ยังมีอิทธิพลต่อสิ่งที่พยานจะกล่าวอีกด้วย
เกี่ยวกับเอกสารการสัมภาษณ์ ผู้สัมภาษณ์ควรบันทึกการสัมภาษณ์ ซึ่งควรท�าขณะสัมภาษณ์ หรือไม่นาน
หลังจากนั้น ซึ่งโดยปกติมักจะเป็นการจดบันทึกการสัมภาษณ์ สรุปข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากพยาน บางสถาบันสิทธิ
มนุษยชนแห่งชาติน�าบันทึกเหล่านี้ไปให้พยานเซ็นรับรอง อย่างไรก็ตาม ในทุกกรณี ผู้สัมภาษณ์ควรระบุวันที่และเซ็น
ก�ากับไว้เป็นหลักฐาน
79
มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ