Page 81 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 81
การให้น�้าหนักพยานและการเตรียม
รายงานการตรวจสอบหาข้อเท็จจริง
แม้ว่าไม่มีแนวทางที่ชัดเจนที่จะก�าหนดได้ว่าข้อมูลจ�านวนเท่าใดที่เพียงพอแล้วส�าหรับการเก็บรวบรวมหลักฐาน แต่มีกฎหลัก
บางข้อที่ควรค�านึงถึงดังต่อไปนี้
มาตรฐานของการพิสูจน์ทั่วไปที่ใช้โดยสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ จะใช้มาตรฐานของกฎหมายแพ่งเพื่อพิจารณา
ว่าฝ่ายใดน่าเชื่อถือมากกว่ากัน (balance of probabilities) มากกว่าการพิจารณาโดยใช้มาตรฐานของกฎหมายอาญาในเรื่อง
“ปราศจากข้อสงสัย” (beyond reasonable doubt) ซึ่งถือว่าเป็นมาตรฐานที่ต�่ากว่า และอาจหมายความว่า มีหลักฐาน
จ�านวนไม่น้อยแสดงให้เห็นว่าอาจจะมีหรือไม่มีข้อกล่าวหาก็เป็นได้
ผู้ตรวจสอบควรทบทวนหลักฐานเพื่อตรวจสอบความครบถ้วน น�้าหนักในการสืบสวน ตลอดจนความน่าเชื่อถือของ
พยาน หากจ�าเป็น การสัมภาษณ์รอบสองอาจจะจัดขึ้นได้เพื่อให้การชี้แจงเพิ่มเติม (แม้ว่าจะเป็นข้อยกเว้นก็ตาม) เพื่อท�าให้
หลักฐานอื่นๆ แน่นขึ้น หรือเพื่อให้ค�าแนะน�าว่าอาจค้นพบหลักฐานอื่น ๆ เพิ่มเติมได้
การประเมินน�้าหนักของหลักฐาน หลักฐานทางกายภาพนับว่าเป็นรูปแบบของหลักฐานที่ดีที่สุด (มีน�้าหนักในการ
สืบสวนมากที่สุด) เพราะเป็นรูปธรรมมากที่สุดและใช้การตีความน้อยที่สุด น�้าหนักของหลักฐานอาจลดลง ถ้าไม่มีการเก็บรักษา
ที่ดีพอที่จะแสดงได้ว่าหลักฐานจะไม่ถูกเปลี่ยนแปลง ซึ่งเรียกว่า “ความมั่นใจในสายการครอบครอง”
เอกสารทางการที่ออกในขณะหรือใกล้เวลาเกิดเหตุจะมีน�้าหนักในการสืบสวนมาก เช่น รายงานของเจ้าหน้าที่ต�ารวจ
ที่ท�าขึ้นทันทีหลังจากเกิดเหตุจะถือว่ามีน�้าหนักมากกว่ารายงานที่ท�าหลังจากวันเกิดเหตุแล้วหลายวันหรือหลังเริ่มมีการ
สืบสวนแล้ว อย่างไรก็ดี ควรให้น�้าหนักแก่บันทึกประจ�าวันของเจ้าหน้าที่ต�ารวจ หรือบันทึกต่าง ๆ ของทางการ เนื่องจากมีความ
น่าเชื่อถือได้มากกว่า โดยเฉพาะบันทึกที่การระบุเวลาที่แม่นย�าไว้
ปัจจัยอื่น ๆ ที่จะน�ามาพิจารณา ได้แก่ เอกสารนั้นเป็นต้นฉบับ หรือการได้รับการรับรอง หรือการพิสูจน์ว่าเป็นของแท้
หรือไม่ เอกสารดังกล่าวมีน�้าหนักกว่าส�าเนาต่าง ๆ เพียงอย่างเดียว การประเมินน�้าหนักของหลักฐานทางเอกสารยังต้อง
ประเมินเนื้อหาในเอกสาร และประเมินร่วมกับหลักฐานประเภทอื่นด้วย เอกสารแสดงสิ่งที่บุคคลร้องเรียนหรือไม่ หรือมีการ
เชื่อมโยงไปถึงคดีหรือไม่
ค�าให้การ (testimonial evidence) นั้น ถึงแม้ว่าการใช้กันอย่างแพร่หลาย แต่ก็เป็นหลักฐานที่มีน�้าหนักน้อย
เนื่องจากหลักฐานเหล่านี้อาจมีอิทธิพลจากการรับรู้ของมนุษย์ แรงจูงใจ และข้อผิดพลาด นอกจากนั้น ค�าบอกเล่า (หลักฐาน
รับรองที่อธิบายถึงสิ่งที่คนอื่นบอกว่าเกิดขึ้น) ก็เป็นรูปแบบหนึ่งของหลักฐานรับรอง แม้ว่าจะมีน�้าหนักในการสืบสวน
ระดับหนึ่ง
80 REGURATION EVIDENCE LAW
มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ