Page 94 - ประมวลรายงานผลการพิจารณาเพื่อเสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ : เล่ม 2 ระหว่าง มกราคม - มิถุนายน 2558
P. 94

92   ประมวลรายงานผลการพิจารณาเพื่อเสนอแนะนโยบายหรือข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎ
                  ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  เล่ม ๒  ระหว่าง มกราคม – มิถุนายน ๒๕๕๘


                     ๔.๒  ร่างพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. ....  และร่างพระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจ

                           สัมพันธ์ พ.ศ. ....

                           กระทรวงแรงงาน ได้จัดทำาร่างพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. ....  และร่างพระราชบัญญัติ
               แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. .... โดยได้ปรับปรุงเนื้อหาจากกฎหมายปัจจุบันให้สอดคล้องกับอนุสัญญา ILO
               ฉบับที่ ๘๗  และฉบับที่ ๙๘ มากขึ้น  อย่างไรก็ตาม  เมื่อเปรียบเทียบกับหลักการอนุสัญญา ILO ทั้งสองฉบับ พบว่า

               มีบางประเด็นที่ยังไม่สอดคล้องกัน ดังนี้


                     ต�ร�งที่ ๑ :  เปรียบเทียบหลักการของอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ฉบับที่ ๘๗ และฉบับที่ ๙๘
                               กับร่างพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. .... และร่างพระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. ....


                                     หลักการของอนุสัญญา

                     ประเด็น            องค์การแรงงาน      ร่าง พรบ. แรงงานสัมพันธ์   ร่าง พรบ. แรงงาน
                                        ระหว่างประเทศ             พ.ศ. ....          รัฐวิสาหกิจสัมพันธ์
                                    ฉบับที่ ๘๗ และฉบับที่ ๙๘                             พ.ศ. ....

               ๑. ผู้มีสิทธิจัดตั้ง  อนุสัญญ� ฉบับที่ ๘๗ ข้อ ๒  - ใช้บทนิยามคำาว่า “ลูกจ้าง   -
               สหภ�พแรงง�นและ      คนทำางานและนายจ้างมีสิทธิ  หมายความว่า ผู้ซึ่งตกลงทำางาน
               กรรมก�รสหภ�พแรงง�น จัดตั้งและเข้าร่วมในองค์กร  ให้แก่นายจ้างเพื่อรับค่าจ้าง”
                                   ที่ตนเลือก  โดยไม่ต้องได้รับ  ทำาให้ผู้ประกอบอาชีพอิสระ
                                   อนุญาตล่วงหน้า         ผู้รับงานไปทำาที่บ้าน ไม่อาจตั้ง
                                                          สหภาพแรงงาน


               ๒. หลักเกณฑ์ก�รจัดตั้ง  อนุสัญญ� ฉบับที่ ๘๗ ข้อ ๓  มีบทบัญญัติที่ให้เจ้าหน้าที่ของ   มีบทบัญญัติที่ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐ
               สหภ�พแรงง�นและก�ร   เจ้าหน้าที่ของรัฐต้องละเว้นจาก รัฐแทรกแซงองค์กรของนายจ้าง  แทรกแซงองค์กรของนายจ้าง
               ดำ�เนินก�ร          การแทรกแซงใดๆ หรือขัดขวาง และของคนทำางาน ดังนี้  และของคนทำางาน ดังนี้
                                   การบริหารงาน  การดำาเนิน  - การจัดตั้งสมาคมนายจ้าง   - การจัดตั้งสหภาพแรงงาน
                                   กิจกรรมขององค์กรคนงาน  สหภาพแรงงาน สหพันธ์นายจ้าง  สหพันธ์แรงงาน ให้ยื่นคำาขอรับ
                                                          สหพันธ์แรงงาน สภาองค์การ  ใบสำาคัญรับรองการจัดตั้งต่อ
                                                          นายจ้าง และสภาองค์การลูกจ้าง  อธิบดีตามหลักเกณฑ์ที่กำาหนด
                                                          ให้ยื่นคำารับรองต่ออธิบดี   และ
                                                          (ร่างมาตรา ๕๕, ๕๗, ๕๘, ๕๙,  ให้มีหนังสือแจ้งอธิบดี
                                                          ๗๗, ๘๕, ๘๗ ถึง ๘๙, ๑๐๙,   (ร่างมาตรา ๔๔, ๔๕, ๗๑)
                                                          ๑๑๐, ๑๑๒, ๑๑๖, ๑๑๗)    - อธิบดีหรือพนักงานเจ้าหน้าที่
                                                          แต่ยังมีขั้นตอนที่คล้ายกับ   ผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมายมีอำานาจ
                                                          การขอจดทะเบียน         ในการสั่งให้นายจ้าง กรรมการ
                                                          - อธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบ  หรือสมาชิกของสหภาพแรงงาน
                                                          หมาย มีอำานาจ ๑) เข้าไปใน  กระทำาการหรืองดกระทำาการ
                                                          สำานักงานของสหภาพแรงงาน  ใดๆ และให้มีอำานาจ (๑) เข้าไป
                                                          ในเวลาทำาการ ๒) ให้กรรมการ   ในรัฐวิสาหกิจหรือสำานักงานของ
                                                          พนักงาน หรือลูกจ้างของ  สหภาพแรงงานในเวลาทำาการ
                                                          สหภาพแรงงาน ส่งหรือแสดง   (๒) ให้ฝ่ายนายจ้าง กรรมการ
                                                          เอกสารหรือบัญชีของ     สหภาพแรงงาน อนุกรรมการ
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99