Page 93 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 93

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                National Human Rights Commission of Thailand


                         ตอมา ไดมีการพิจารณากําหนดหลักเกณฑและเงื่อนไขในการกําหนดสภาพปาเสื่อมโทรม และมาตรการ
                ใชที่ดินในพื้นที่ปาเสื่อมโทรม ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อ มิถุนายน พ.ศ. 2530 และ วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2532

                ดังนี้
                         ก.  พื้นที่ปาสงวนแหงชาติที่ถือวาเปนปาเสื่อมโทรม ตองมีสภาพตามหลักเกณฑและเงื่อนไข ดังตอไปนี้

                            1.  เปนปาไมที่มีไมมีคาที่มีลักษณะสมบูรณเหลืออยูเปนสวนนอยและปานั้นยากที่จะกลับฟนคืนดี

                ไดตามธรรมชาติ โดยมีไมขนาดความโตจัดโดยรอบลําตนตรงที่สูง 130 เซนติเมตร ตั้งแต 50 - 100 เซนติเมตร
                ขึ้นกระจายอยูทั่วพื้นที่ไมเกินไรละ 8 ตน หรือไมมีขนาดความโตเกิน 100 เซนติเมตรขึ้นไป ขึ้นกระจายตัว

                อยูทั่วพื้นไมเกินไรละ 2 ตน

                            2.  การสํารวจพื้นที่ตามขอ 1 ใหดําเนินการ ดังนี้
                             2.1   ในกรณีที่พื้นที่ขออนุญาตมีพื้นที่มากกวา 500 ไร ควรมีการตรวจสอบภาพถาย

                ทางอากาศหรือภาพถายดาวเทียม มาตราสวนที่เหมาะสมซึ่งสามารถตรวจสอบไดที่ถายใหมที่สุดเพื่อประเมิน

                สภาพปาโดยทั่วไปหากมีพื้นที่ปาที่สมบูรณใหกันออก
                             2.2   ใหสํารวจโดยวิธีทําแปลงตัวอยาง Line Plot ใหกระจายทั่วพื้นที่ไมนอยกวารอยละ 5

                ของพื้นที่ เพื่อหาปริมาณของไมขนาดตาง ๆ ในการประเมินไมควรใชคาเฉลี่ยตอพื้นที่ปาผืนใหญ เพื่อใหเปนไป
                ตามหลักเกณฑควรใชคาเฉลี่ยตอพื้นที่ปาในแตละแปลงที่สํารวจ

                         ข.   มาตรการการใชที่ดินในพื้นที่ปาเสื่อมโทรม

                            1.  ในกรณีปาเสื่อมโทรมนั้นอยูในพื้นที่ตนนํ้าธาร ชั้น 1เอ 1บี และชั้นที่ 2 แมจะมีตนไมนอย
                เพียงใดก็ตาม ก็มิใหกําหนดเปนปาเสื่อมโทรม

                            2.  ในการกําหนดใหพื้นที่ใดเปนปาเสื่อมโทรม ตาม พ.ร.บ.ปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2507
                ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ.ปาสงวนแหงชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2528 นั้น ไมมีผลผูกพันในการที่จะใหราษฎร

                เขาไปทําประโยชนตลอดไปสําหรับราษฎรซึ่งมีคุณสมบัติตามที่กําหนดไวในระเบียบกรมปาไมวาดวยหลักเกณฑ

                เงื่อนไขในการอนุญาตใหทําประโยชน และอยูอาศัยในเขตปรับปรุงปาสงวนแหงชาติ
                         ปาชายเลน

                         การจําแนกเขตการใชประโยชนปาชายเลนครั้งแรกเมื่อป พ.ศ. 2524 เมื่อพบวาปาชายเลนลดลง

                อยางรวดเร็ว ในชวงระหวางป พ.ศ. 2518 - 2522 มีการจัดตั้งคณะกรรมการทรัพยากรปาชายเลนแหงชาติ
                ขึ้นมาดูแล และไดมีมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2530 เห็นชอบกับหลักเกณฑและมาตรการ

                ในการพิจารณากําหนดเขตการใชประโยชนในพื้นที่ปาชายเลน ดังนี้













           72    รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข
                 นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98