Page 98 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 98

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                                                                                               National Human Rights Commission of Thailand

               ประกาศใชเมื่อ 1 ธันวาคม รศ. 116 ใหผูที่จะกานหรือตัดไมสักจะตองไดรับอนุญาตจากเจาหนาที่กอน ในสมัย

               รัชกาลที่ 6 ไดทรงตรา “พระราชบัญญัติรักษาปาพระพุทธศักราช 2456” ออกมาบังคับใชมีสาระสําคัญคือ

               กําหนดวิธีการทําไมเพื่อรักษาพรรณไมและสภาพของปาไวโดยมีขอหามมิใหถางปาดง หรือ ปาดิบทําไรขาว
               เปนอันขาด แตก็อนุญาตใหราษฎรตัดฟนเอาไมหวงหามชนิดที่ 2 (ไมมีราคามาก) และชนิดที่ 3 (ไมที่ไมสูมีราคา)

               ไปใชในการกุศล ใชปลูกสรางบานเรือน ใชในการกสิกรรม และใชในการจับสัตวนํ้าไดโดยไมตองเสียคาภาคหลวง

               ป พ.ศ. 2484 มี พ.ร.บ.ปาไม พุทธศักราช 2484 ออกมาใชบังคับโดยยกเลิกกฎหมายเกี่ยวกับปาไมที่เคยใช
               มากอนทั้งหมด และมีบทบัญญัติที่สําคัญเกี่ยวกับการทําไม การเก็บหาของปา การเก็บคาภาคหลวงไม

               และของปา การแปรรูปไม และการแผวถางปา โดยบทบัญญัติในการทําไมในปานั้นใหทําไดในสองรูปแบบ
               คือการอนุญาต และสัมปทาน และระหวางป พ.ศ. 2515 - 2516 ไดมีการใหสัมปทานทําไมสักและไมกระยาเลย

               ระยะยาว มีกําหนด 30 ป ในพื้นที่ 301 ปา แตปาสัมปทานก็ถูกตัดฟนไมเกือบหมดทุกแหงในชวงเวลา 15 - 16 ป

               เทานั้น เหตุการณอุทกภัยที่บานกระทูน อําเภอพิปูน จังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อปลายป 2531 สงผลใหรัฐบาล
               ซึ่งมีพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เปนนายกรัฐมนตรี ไดออกพระราชกําหนดยกเลิกสัมปทานทําไมปาบกทั้งหมด

                            พระราชบัญญัติปาไม พุทธศักราช 2484 ไดมีการแกไขเพิ่มเติมตอมาอีกหลายครั้ง
                            สาระสําคัญเกี่ยวกับที่ดินทํากินก็คือ มาตรา 54 ซึ่งหามมิใหผูใดกอสราง แผวถาง หรือเผาปา

               หรือกระทําดวยประการใด ๆ อันเปนการทําลายปา หรือเขายึดถือครอบครองปาหากฝาฝนมีโทษทั้งจําทั้งปรับ

               บทบัญญัตินี้ไมเปดโอกาสใหราษฎรไดเขาบุกรางถางปาเพื่อเอาที่ดินทํากินไดอยางเสรีดังที่เคยมีมาแตในสมัยโบราณ
               แตก็ไมสามารถยับยั้งการกระทําของราษฎรดังกลาวได โดยเฉพาะอยางยิ่งชวงพืชเศรษฐกิจ เชน มันสําปะหลัง

               และขาวโพดมีราคาดีในชวงเรงรัดการพัฒนาทางเศรษฐกิจ เปนเหตุใหปาไมเปลี่ยนเปนพื้นที่เกษตรกรรมอยางรวดเร็ว

               รัฐบาลจึงไดออกกฎหมายเพื่ออนุรักษปาไม และควบคุมการทําลายปาไมอีก 3 ฉบับ คือ (1) พ.ร.บ.สงวนและคุมครอง
               สัตวปา พ.ศ. 2503 (2) พ.ร.บ. อุทยานแหงชาติ พ.ศ. 2504 (3) พ.ร.บ. ปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2507 โดยมาตรา 4

               พ.ร.บ.ปาไม พุทธศักราช 2484 ไดนิยามวา “ปา” หมายความวา ที่ดินที่ยังมิไดมีบุคคลไดมาตามกฎหมายที่ดิน

               ทําใหที่ดินของราษฎรและชุมชนจํานวนมากที่ไมมีกฎหมายรองรับกลายเปนพื้นที่ปาตามกฎหมาย
                            สาระสําคัญของกฎหมายที่เกี่ยวของไดแก

                            มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้
                            (1)  “ปา” หมายความวา ที่ดินที่ยังมิไดมีบุคคลไดมาตามกฎหมายที่ดิน

                            (2)  “ไม” หมายความวา ไมสักและไมอื่นทุกชนิดที่เปนตน เปนกอ เปนเถา รวมตลอดถึง

               ไมที่นําเขามาในราชอาณาจักร ไมไผทุกชนิด ปาลม หวาย ตลอดจนราก ปุม ตอ เศษ ปลาย และกิ่งของสิ่งนั้น ๆ
               ไมวาจะถูกตัดทอน เลื่อย ผา ถาก ขุด หรือกระทําโดยประการอื่นใด

                            (3)  “แปรรูป” หมายความวา การกระทําอยางใดอยางหนึ่งแกไม ดังนี้ คือ








                                                                       รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข  77
                                                                นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103