Page 89 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 89

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                National Human Rights Commission of Thailand

                         3)  เรงรัดการจัดใหมีองคกรและระบบบริหารจัดการที่ดินใหเปนรูปธรรมโดยเร็ว เพื่อเปนกลไกในการ

                กระจายการถือครองที่ดินอยางเปนธรรมและดําเนินการใหเกษตรกรมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินเพื่อประกอบเกษตรกรรม

                อยางทั่วถึง และสนับสนุนการใชประโยชนที่ดินของรัฐอยางคุมคาโดยเกษตรกรและชุมชน รวมทั้งเรงรัด
                การออกเอกสารสิทธิ์หรือจัดสรรสิทธิในที่ดินใหแกเกษตรกรผูไรที่ทํากินใหมีที่ดินเปนของตนเองอยางเปนธรรม

                         แนวคิดหลัก ๆ ในระดับชาติเกี่ยวกับการจัดการที่ดินปาไม จึงกลาวไวชัดวาใหคํานึงถึงความสอดคลอง

                กับสภาพแวดลอมทางธรรมชาติและวิถีชีวิตของชุมชนทองถิ่น ยังไดเนนการมีสวนรวมตัดสินใจของประชาชน
                ในพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบจากการกําหนดหลักเกณฑการใชที่ดินและการพัฒนาทรัพยากรปาไม แตหนวยงาน

                ของรัฐยังมิไดนําแนวคิดใหม ๆ เหลานี้ไปปฏิบัติอยางจริงจัง
                         3.  นโยบายปาไมแหงชาติ

                            นโยบายปาไมแหงชาติ จัดทําโดยคณะกรรมการนโยบายปาไมแหงชาติตามมติคณะรัฐมนตรี

                วันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2528 โดยมีสาระสําคัญ 19 ประการ ดังนี้
                            1)  ใหมีการกําหนดแนวทางการจัดการและพัฒนาทรัพยากรปาไมในระยะยาว โดยเนน

                การประสานระหวางทรัพยากรปาไมและทรัพยากรอื่น
                            2)  สงเสริมบทบาทและหนาที่ของสวนราชการและภาคเอกชนในการจัดการและพัฒนาปาไม

                รวมกัน

                            3)  ปรับปรุงระบบการบริหารงานปาไมแหงชาติใหสอดคลองกับปริมานคุณภาพ และสภาพปาไม
                และสิ่งแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไป

                            4)  ใหมีพื้นที่ปาไมอยางนอยรอยละ 40 ของพื้นที่ประเทศ เพื่อประโยชน 2 ประการ คือ

                ปาเพื่อการอนุรักษรอยละ 15 และปาเพื่อเศรษฐกิจรอยละ 25
                            5)  รัฐและภาคเอกชนจะพัฒนาพื้นที่ปาไมไปสูเปาหมายที่กําหนดไว

                            6)  เพิ่มการใชวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในการพัฒนาการเกษตรเพื่อลดการทําลายพื้นที่ปาไม

                            7)  จัดใหมีแผนพัฒนาปาไมไวเปนสวนหนึ่งของแผนพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ
                            8)  เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไม เรงรัดปรับปรุงการวางผังเมือง และกําหนดพื้นที่ที่อยูอาศัย

                พื้นที่ชนบทและพื้นที่เกษตรในแตละจังหวัดใหแนนอน เพื่อปองกันการบุกรุกพื้นที่ปาไม
                            9)  ใหมีคณะกรรมการนโยบายปาไมระดับชาติเปนการถาวร

                            10) ใหความรู ทัศนคติ ความสํานึก ความรูสึก และทักษะแกประชาชนเกี่ยวกับผลประโยชน

                ที่จะไดรับจากทรัพยากรปาไม และผลเสียของการตัดไมทําลายปา และการใชไมอยางฟุมเฟอย
                            11) สงเสริมการปลูกปาภาคเอกชนและภาครัฐบาล เพื่อใชสอยการอุตสาหกรรมและสงออก

                            12) สงเสริมใหมีโรงงานอุตสาหกรรมแบบตอเนื่อง และโรงงานเยื่อกระดาษ
                            13) ปรับปรุงแกไขกฎหมายเพื่อใหการรักษาและเพิ่มปาไม และการตัดฟนตอนไมมาใชประโยชน

                ไดอยางมีประสิทธิภาพ



           68    รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข
                 นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94