Page 90 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 90

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                                                                                               National Human Rights Commission of Thailand

                            14) ใหมีการตั้งสถาบันวิจัยปาไมระดับชาติ

                            15) ใหมีการปลูกปาเพื่อเปนแหลงพลังงาน

                            16) กําหนดพื้นที่ที่มีความลาดชันโดยเฉลี่ย 35 เปอรเซ็นตขึ้นไป ไวเปนพื้นที่ปาไม โดยไมอนุญาต
               ใหมีการออกโฉนด หรือ น.ส.3

                            17) กําหนดแนวปฏิบัติที่แนนอนชัดเจนเกี่ยวกับการแกปญหาการทําลายปาในรูปแบบตาง ๆ เชน

               การทําไรเลื่อนลอย ฯลฯ
                            18) กําหนดใหมีสิ่งจูงใจในการสงเสริมการปลูกปาภาคเอกชน

                            19) กําหนดใหมีการวางแผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย และการตั้งถิ่นฐานในทองถิ่นใหสอดคลอง
               กับการใชและการอนุรักษทรัพยากรของประเทศ

                        การจัดทํานโยบายปาไมถือเปนความกาวหนาของวงการปาไมไทยและอาจนับไดวาเปนจุดเริ่ม

               ของการทํากระบวนการนโยบายสาธารณะดานทรัพยากรของประเทศไทย แตการกําหนดนโยบายปาไมแหงชาติ
               เกิดจากคณะกรรมการนโยบายปาไมแหงชาติสั่งการโดยมีกรมปาไมเปนฝายเลขานุการ มิไดสวนรวมจาก

               ภาคประชาสังคม จึงทําใหขอบเขตเนื้อหาของนโยบายคอนขางแคบที่เนนการจัดการปาเพื่อตอบสนอง
               การพัฒนาเศรษฐกิจเปนหลักโดยไมมีโจทยหรือปญหาที่เชื่อมโยงกับการพัฒนาในภาคสวนอื่น ๆ ที่ชัดเจน

               นโยบายปาไมจึงขาดมุมมองทางสังคมและการพัฒนาที่เปนสวนสําคัญของการจัดการปาไมและทรัพยากรธรรมชาติ

               อยางยั่งยืน

                        4.2.2   แนวทางปฏิบัติการการบริหารจัดการที่ดินปาไม

                        ในการบริหารจัดการที่ดินของรัฐ ไดกําหนดแนวทางและมาตรการดําเนินงานหลายประการ เชน

               การจําแนกหรือแบงที่ดินและปาไม แนวทางนี้มีความสําคัญที่สงผลตอการวางแผนการใชประโยชนจากพื้นที่

               ตลอดจนถึงการวางแผนใหกรรมสิทธิ์ตอประชาชน โดยแบงเปนปาบกและปาชายเลน ดังรายละเอียดตอไปนี้
                        ปาบก

                        1.  การแบงประเภทผืนปา

                        นโยบายปาไมแหงชาติไดกําหนดพื้นที่ปาไมทั่วประเทศอยางนอยในอัตรารอยละ 40 ของพื้นที่ประเทศ
               เพื่อประโยชน 2 ประการ คือ

                            1)  ปาเพื่อการอนุรักษ กําหนดไวเพื่ออนุรักษสิ่งแวดลอม ดิน นํ้า พันธุพืช พันธุสัตวที่หายาก

               และปองกันภัยธรรมชาติอันเกิดจากนํ้าทวม และการพังทลายของดิน ตลอดทั้งเพื่อประโยชนในการศึกษา
               การวิจัย และการนันทนาการของประชาชนในอัตรารอยละ 15 ของพื้นที่ประเทศ

                            2)  ปาเศรษฐกิจ กําหนดไวเพื่อการผลิตไมและของปาเพื่อประโยชนในทางเศรษฐกิจ ในอัตรา
               รอยละ 25 ของพื้นที่ประเทศ ตอมาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 6 ไดกําหนดมาตรการ

               ดําเนินการไว เพื่อความชัดเจนในการกําหนดขอบเขตความรับผิดชอบระหวางรัฐกับเอกชน และประชาชน




                                                                       รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข  69
                                                                นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95