Page 96 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 96

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                                                                                               National Human Rights Commission of Thailand

                            3.2  มาตรการการใชประโยชนที่ดินในพื้นที่เศรษฐกิจ ก. ควรมีมาตรการ

                            3.2.1  พื้นที่ที่มีการเปลี่ยนแปลงสภาพใหฟนฟูสภาพปาเพื่อประโยชนในกิจการปาไมใหได

               ผลผลิตสมํ่าเสมอ
                            3.2.2  ที่ใดที่มีการพัฒนาจะเปลี่ยนสภาพไปโดยไมถูกตองตามกฎหมายใหเพิกถอนออกจาก

               พื้นที่ และปลูกปาทดแทน

                            3.2.3  เรงรัดและสงเสริมใหภาครัฐและเอกชนฟนฟูสภาพปาชายเลนที่เสื่อมโทรมโดยการ
               ปลูกปาและปรับปรุงระเบียบกฎหมายใหทันสมัย และอํานวยผลใหมีการปฏิบัติไดอยางรวดเร็ว

                            3.2.4  ควบคุมการทําไม และการปลูกบํารุงปาของผูรับสัมปทานโดยเครงครัด
                            3.2.5  ในกรณีที่จะอนุญาตใหทําเหมืองแรใหพิจารณาถึงความเหมาะสมและใหดําเนินการ

               ตามมติ ครม. และกฎหมายที่เกี่ยวของ

                            3.2.6  สวนราชการใดจําเปนตองใชที่ดินอยางหลีกเลี่ยงไมได ใหดําเนินตามมติ ครม.
               และกฎหมายที่เกี่ยวของ

                            3.3  มาตรการการใชประโยชนที่ดินที่เขตเศรษฐกิจ ข. ควรมีมาตรการ
                            3.3.1  การใชพื้นที่ทํากินดานประมง เหมืองแร กสิกรรม หรือกิจกรรมอื่น ตองมีการควบคุม

               วิธีการปฏิบัติอยางเขมงวด เพื่อเปนไปตามหลักการอนุรักษทรัพยากรปาไม

                            3.3.2  ในการอนุญาตใชพื้นที่ จะตองคํานึงถึงผลดีและผลเสียทางดานสิ่งแวดลอม
                            3.3.3  การขอใชพื้นที่เพื่อกิจกรรมตาง ๆ ใหดําเนินการตามมติ ครม.และกฎหมายที่เกี่ยวของ




               4.3 นโยบายและกฎหมายที่เกี่ยวของ
                        นโยบายดานปาไมของรัฐบาลที่ผาน ๆ มาเปนการจัดดําเนินการภายใตระบบราชการโดยมีกฎหมาย

               ปาไมหลักที่สําคัญ 5 ฉบับ คือ พระราชบัญญัติปาไม พุทธศักราช 2484 พระราชบัญญัติอุทยานแหงชาติ

               พ.ศ. 2504 พระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2507 พระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ. 2535
               และพระราชบัญญัติสวนปา พ.ศ. 2535 รวมทั้งมติคณะรัฐมนตรีและคําสั่งที่สําคัญ เชน

                        คําสั่งนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2518 เรื่องราษฎรเขาทํากินในที่ปาสงวนแหงชาติ กําหนด
               มาตรการแกไขปญหาราษฎรเขาไปทํากินในเขตปาสงวน กรณีปาสงวนที่หมดสภาพแลวใหราษฎรทํากินตอไปได

               และหากราษฎรถูกเจาหนาที่จับกุมคุมขังไวก็ใหเจาหนาที่ปลอยตัวไป และถาราษฎรผูนั้นจะเขาทํากินในที่นั้น

               ก็ใหเขาทํากินได และตั้งแตนี้เปนตนไปหามบุกรุกปาสงวนเปนการเด็ดขาดหากบุกรุกเขาไปยอมเปนการฝาฝน
               กฎหมาย จะถูกดําเนินการตามกฎหมายตอไป...(สมัยนายคึกฤทธิ์ ปราโมช เปนนายกรัฐมนตรี)

                        มติคณะรัฐมนตรีวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2518 เรื่องแผนงานจัดที่ดินใหแกราษฎรในรูปหมูบานปาไม
               ในเขตปาสงวนที่เสื่อมโทรม






                                                                       รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข  75
                                                                นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101