Page 97 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 97

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                National Human Rights Commission of Thailand

                         มติคณะรัฐมนตรีวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2522 ใหลดการทําไมลงรอยละ 15 ทําใหมีการปดปา

                มิใหมีการทําไม 341 ปา

                         มติคณะรัฐมนตรีวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2522 เห็นชอบการชวยเหลือราษฎรที่บุกรุกอยูในปาสงวน
                แหงชาติและปาไมถาวรของชาติใหมีที่ทํากิน

                         มติคณะรัฐมนตรีวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2525 เห็นชอบนโยบายการใชและกรรมสิทธิ์ที่ดิน ใหจัดทํา

                โครงการจําแนกประเภทที่ดินในพื้นที่ 30 ลานไร พื้นที่ไมเหมาะสมแกการเกษตรใหทําหมูบานปาไมและปลูกปา
                พื้นที่เหมาะสมแกการเกษตรใหกรมปาไม สํานักงานปฏิรูปที่ดิน และสวนราชการเกี่ยวของจัดทําโครงการ

                ใชประโยชนที่ดินทํากิน
                         มติคณะรัฐมนตรีวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2525 ใหสํานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ

                ดําเนินการกําหนดชั้นคุณภาพลุมนํ้าที่สําคัญของประเทศไทย

                         มติคณะรัฐมนตรีวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2527 อนุมัติในหลักการใหกรมที่ดินดําเนินการโครงการ
                พัฒนาที่ดิน และเรงรัดการออกโฉนดที่ดินทั่วประเทศไทยใหเสร็จภายใน 20 ป (พ.ศ. 2528 - พ.ศ. 2557)

                         มติคณะรัฐมนตรีวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2530 เห็นชอบหลักเกณฑและเงื่อนไขในการกําหนดสภาพ
                ปาเสื่อมโทรมตามความเห็นของคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ

                         มติคณะรัฐมนตรีวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2530 เห็นชอบเรื่อง “นโยบายที่ดิน” ตามที่คณะกรรมการ

                พัฒนาชนบทแหงชาติเสนอ นโยบายดังกลาวกําหนดเปน 4 ดานคือ นโยบายที่ดินเพื่อเศรษฐกิจ นโยบายที่ดิน
                เพื่อสังคม และนโยบายที่ดินเพื่อความมั่นคง และนโยบายชาวเขา

                         มติคณะรัฐมนตรีวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2531 เรื่องการขีดแนวเขตปาไมลงในระวางรูปถายทางอากาศ

                         มติคณะรัฐมนตรีวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2532 มีการประกาศใชพระราชกําหนดแกไขเพิ่มเติม
                พ.ร.บ.ปาไม พุทธศักราช 2484 ใหสัมปทานปาไมสิ้นสุดลง เวนสัมปทานปาไมปาชายเลน

                         1.  กฎหมายปาไม

                            1.1) พระราชบัญญัติปาไม พุทธศักราช 2484
                            ปาไมแตเดิมอยูในความดูแลของเจาผูครองนครตาง ๆ เชน นครเชียงใหม นครแพร นครนาน

                ในชวงยุคลาอาณานิคม ชาวตางชาติกดดันใหรัฐสยามอนุญาตใหบริษัทตางชาติเขามาทําไม จึงเปนเหตุใหมี
                การรวบอํานาจการจัดการปาจากผูครองนครมาอยูในมือของรัฐบาลสวนกลางแตเพียงผูเดียวและเริ่มการบริหาร

                จัดการปาไมแบบใหม โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 แหงกรุงรัตนโกสินทร

                ไดทรงสถาปนากรมปาไมขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2439 และไดทรงตรา พ.ร.บ.วาดวยไมซุงและไมทอนเพื่อควบคุม
                ไมใหเกิดการขโมยไมที่ตัดฟนแลวปลอยใหลอยหรือลองลงมาตามลํานํ้า ตอมา มีประกาศรักษาปารัตนโกสินทร

                ศก 116 มีสาระสําคัญวาไมขอนสักเปนบอเกิดแหงทรัพยสมบัติและความเจริญ ควรจัดการปองกันรักษาไม
                ในปาโดยหามมิใหกานหรือตัดไมสักที่ยังเล็กออน หรือยังไมไดขนาด ตอมามีพระราชบัญญัติรักษาตนไมสัก






           76    รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข
                 นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102