Page 87 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 87

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                National Human Rights Commission of Thailand


                         เพิ่มศักดิ์ มกราภิรมย (2553) สรุปวา มีสถานการณที่สําคัญบางประการที่บงชี้ถึงความจําเปนเรงดวน
                ตองปฏิรูปการปาไมทั้งระบบ โดยเฉพาะอยางยิ่งระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวกับที่ดินและปาไม  ซึ่งเปนเครื่องมือสําคัญ

                ในการรักษาปา ประการแรก การสูญเสียปาธรรมชาติที่สมบูรณอยางตอเนื่องถึง 80 ลานไรในชวงประมาณ 50 ป
                ที่ผานมา หรือปละกวา 1 ลานไร ทําใหระบบนิเวศปาซึ่งมีความหลากหลายทางชีวภาพ ถูกทําลายไปเปนจํานวนมาก

                ประการที่สอง กระบวนการฟอกสินทรัพยที่เกี่ยวของกับปา เชน การตัดไมผิดกฎหมายโดยหาผูกระทําผิดไมไดแลว

                ทําใหไมตกเปนของกลางถูกประมูลกลับไปยังนายทุนผูบงการตัดไม หรือการถางปาแลวนําไปสรางหลักฐานกูเงิน
                จากสถาบันการเงิน เมื่อที่ดินถูกยึดขายทอดตลาด ก็สามารถซื้อกลับมาไดเปนที่ดินที่ถูกกฎหมาย รวมทั้งการนําเงิน

                ที่ไมมีแหลงที่มาที่ชัดเจนจากตางชาติมากวานซื้อที่ดินโดยตั้งตัวแทนทําธุรกิจและไดเงินสดกลับไปอยางถูกตอง

                ตามกฎหมาย ประการที่สาม ที่ดินที่จัดสรรโดยโครงการจัดที่ดินเพื่อชวยเหลือคนจนที่ไรที่ดินตาง ๆ ของรัฐ
                ถูกเปลี่ยนมือมาเปนของนายทุนและผูครอบครองที่ไมไดไรที่ดินทํากินมากกวาครึ่ง ทําใหเกษตรกรผูเคยไดรับ

                การจัดสรรที่ดินจากรัฐ ตองกลับไปถางปาใหม และประการที่สี่ การกวานซื้อที่ดินเปนผืนใหญโดยนายทุน

                ระดับชาติและทุนตางชาติ



                4.2 แนวคิดและวิธีปฏิบัติในการจัดการที่ดินปาไม

                         4.2.1 แนวคิด


                         แนวคิดหลักที่สําคัญทางดานปาไมและการจัดการที่ดินในเขตปาที่ปรากฏอยูในนโยบายและกฎหมาย
                รวมทั้งมติคณะรัฐมนตรีหลายฉบับมีสวนสําคัญตอการกําหนดทิศทางการบริหารจัดการปาและที่ดินปาไม ในที่นี้

                จะนําเสนอตนธารของแนวคิดหลักที่สําคัญและสงผลมากที่สุด คือ กฎหมายรัฐธรรมนูญ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
                และสังคมแหงชาติ นโยบายปาไมแหงชาติ และแนวคิดสําคัญ ๆ  บางประการเกี่ยวกับการจัดที่ดินในเขตปา

                         1.  รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

                         รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 สวนที่ 8 แนวนโยบายดานที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ
                และสิ่งแวดลอม มาตรา 85 รัฐตองดําเนินการตามแนวนโยบายดานที่ดินทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม

                ดังตอไปนี้
                            1)  กําหนดหลักเกณฑการใชที่ดินใหครอบคลุมทั่วประเทศ โดยใหคํานึงถึงความสอดคลองกับ

                สภาพแวดลอมทางธรรมชาติ ทั้งผืนดิน ผืนนํ้า วิถีชีวิตของชุมชนทองถิ่น และการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ

                อยางมีประสิทธิภาพ และกําหนดมาตรฐานการใชที่ดินอยางยั่งยืน โดยตองใหประชาชนในพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบ
                จากหลักเกณฑการใชที่ดินนั้นมีสวนรวมในการตัดสินใจดวย

                            2)  กระจายการถือครองที่ดินอยางเปนธรรมและดําเนินการใหเกษตรกรมีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิ

                ในที่ดินเพื่อประกอบเกษตรกรรมอยางทั่วถึงโดยการปฏิรูปที่ดินหรือวิธีอื่น รวมทั้งจัดหาแหลงนํ้าเพื่อใหเกษตรกร
                มีนํ้าใชอยางพอเพียงและเหมาะสมแกการเกษตร




           66    รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข
                 นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92