Page 84 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 84

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                                                                                               National Human Rights Commission of Thailand

                                            4. การละเมิดสิทธิที่ดินปาไม




               4.1 ความเปนมาและภาพรวมสถานการณปญหา

                        ปาไมเปนฐานทรัพยากรที่มีความสําคัญตอชุมชน โดยเฉพาะอยางยิ่งกลุมคนฐานรากของสังคมที่มีหนาที่

               ผลิตอาหารปอนประชากรทั้งประเทศ การสนับสนุนใหราษฎรในชนบทมีชีวิตอยูกับฐานทรัพยากร มีการจัดการ
               ทรัพยากรที่สมดุลยั่งยืนตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จะชวยสรางงาน กระจายรายได กระจายหนาที่

               และความรับผิดชอบในการดูแลทรัพยากรสาธารณะและสิ่งแวดลอม จึงทําใหเกิดความมั่นคงทางทางเศรษฐกิจ

               สังคม การเมือง ระบบนิเวศ และสิ่งแวดลอมไดอยางมีประสิทธิภาพ ทั้ง ๆ ที่ปาไมมีความสําคัญเชนนี้ หากแต
               กลับมีสัญญาณหลายประการที่สะทอนใหเห็นถึงสถานการณปญหาความเสื่อมโทรมของปาไมและทรัพยากร

               ในประเทศไทย  ทั้งการสูญเสียพื้นที่ปาธรรมชาติที่สมบูรณถึง 80  ลานไรในชวงเวลา 50  ปที่ผานมา
               หรือปละกวา 1 ลานไร ซึ่งสงผลทําใหความหลากหลายทางชีวภาพของระบบนิเวศปาถูกทําลายเปนจํานวนมาก

                        รายงานของสถาบันนโยบายศึกษา สมาคมสังคมศาสตรแหงประเทศไทย (2534) สรุปสาเหตุหลัก

               ของปญหาที่ดินทํากินในเขตปาไมไว 7 ประการคือ
                        1.  ราษฎรอยูอาศัยและทํากินมากอนที่จะประกาศเปนปาสงวนแหงชาติและปาอนุรักษ

                        2.  การเพิ่มขึ้นของประชากรและการขยายตัวของชุมชนโดยไมมีที่ดินทํากินรองรับ
                        3.  การปฏิรูปที่ดินและการจัดสรรที่ดินของรัฐใหเกษตรกรลมเหลวไมสามารถแกปญหาเกษตรกร

               ไรที่ดินทํากินได

                        4.  นโยบายการลดขนาดภาคเกษตรใหไปสูภาคอุตสาหกรรมไมเปนจริง ภาคอุตสาหกรรมรองรับไมพอ
               และเกษตรกรที่เปลี่ยนไปเปนคนงานไมไดมีคุณภาพชีวิตดีกวาเดิม

                        5.  นโยบายดานเศรษฐกิจของรัฐชักนําคนใหไปตั้งชุมชนในปา ตั้งแตสัมปทานทําไม สัมปทานเหมืองแร

               การอนุญาตใหเชาพื้นที่ปาสงวนฯ ฯลฯ
                        6.  การสูญเสียที่ดินเกษตรในพื้นที่ราบใหกับนายทุนและสถาบันการเงิน และ

                        7.  กระแสพืชเศรษฐกิจเพื่ออุตสาหกรรมและการสงออก และในชวงเวลาตอ ๆ มา ก็มีการวิเคราะห

               เหตุปจจัยการทําลายปามาโดยตลอด และขอสรุปปญหาและขอเสนอแนะใหแกไขปญหาก็มิไดมีอะไรใหม
               ที่แตกตางไปจากนี้

                        ระยะไมนานมานี้ การสูญเสียที่ดินปาไมยังเกิดจากกลไกตลาด กลไกรัฐ และกระบวนการยุติธรรม
               โดยกระบวนการฟอกบริสุทธิ์ของสินทรัพยที่เกี่ยวของกับปาไม เชน การถางปาแลวนําที่ดิน ไปสรางหลักฐานกูเงิน

               จากสถาบันการเงินแลวปลอยใหที่ดินถูกยึดขายทอดตลาดก็สามารถซื้อกลับมาเปนที่ดินที่ถูกกฎหมายได รวมทั้ง

               การนําเงินทุนจากตางชาติมากวานซื้อที่ดิน โดยตั้งตัวแทนทําธุรกิจซื้อขายที่ดินและไดเงินสดกลับไปอยางถูกตอง
               ตามกฎหมาย ที่ดินที่จัดสรรโดยโครงการจัดที่ดินเพื่อชวยเหลือคนจนที่ไรที่ดินของรัฐถูกเปลี่ยนมือมาเปนของนายทุน





                                                                       รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข  63
                                                                นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89