Page 75 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 75

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                National Human Rights Commission of Thailand


                         สวนการถือครองที่ดินของบุคคลธรรมดาพบวา กลุมที่มีที่ดินมากที่สุด 20% แรก ถือครองที่ดิน
                ตางจากกลุมที่มีที่ดินนอยสุดถึง 600 กวาเทา โดยบุคคลธรรมดาที่ถือครองที่ดินสูงสุด มีที่ดินในครอบครอง

                ถึง 630,000 ไร หากจําแนกผูถือครองที่ดิน โดยนําสัดสวนการถือครองที่ดินของบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล

                มาหาคาเฉลี่ย ยังพบตัวเลขกลุมผูที่ถือครองมากสุด 10% ถือครองที่ดินถึง 80% ของที่ดินมีโฉนดทั้งหมด

                สวนประชาชนกลุมที่เหลืออีก 90% กลับถือครองที่ดินเพียง 20% ของที่ดินมีโฉนดทั้งหมด ซึ่งสะทอนใหเห็นถึง
                การกระจุกตัวของการถือครองที่ดินเปนอยางมาก

                         ขณะที่การถือครองที่ดินของนักการเมืองในรัฐบาลปจจุบัน จากการศึกษาและรวบรวมขอมูล

                จากสํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ (ป.ป.ช.) พบวา ส.ส. บัญชีรายชื่อ จํานวน

                118 ราย ถือครองที่ดินมีมูลคารวมกันถึง 8,000 ลานบาท สวน ส.ส. เขต จํานวน 346 ราย ถือครองที่ดิน
                มีมูลคารวม 7,800 กวาลานบาท และถาดูจากขนาดการถือครองที่ดิน ทั้ง ส.ส. บัญชีรายชื่อ และ ส.ส. เขต

                ถือครองที่ดินรวมกันทั้งสิ้นกวา 27,000 ไร (ดวงมณี เลาวกุล 2554) จากตัวเลขนี้จึงไมนาแปลกใจเลยวา

                เพราะเหตุใดเมื่อมีการพูดถึงเรื่องภาษีที่ดิน การดําเนินการตาง ๆ จึงไมคอยขยับไปไกลมากนัก นาจะมีคําอธิบาย

                อยูในตัว
                         ขอมูลสถานการณปญหาที่ดินที่ปรากฏขางตน สะทอนใหเห็นถึงสาเหตุของปญหาในทางนโยบาย

                ที่สงผลใหเกิดความไมเทาเทียม เปนธรรมในการเขาถึงฐานทรัพยากรธรรมชาติ โดยประกอบไปดวยสาเหตุ ดังนี้

                         1)  นโยบายเรงรัดออกโฉนดที่ดิน และเอกสารสิทธิ์ที่ดิน เพื่อสรางหลักประกันใหบุคคลมีสิทธิ

                ในที่ดินอยางมั่นคง โดยไมมีการวางแผนการใชที่ดินอยางเหมาะสม ไมมีการควบคุมการเก็งกําไรซื้อขายที่ดิน
                และไมมีมาตรการกระจายการถือครองที่ดิน จึงทําใหมีการกระจุกตัวการไดเอกสารสิทธิที่ดินสําหรับบุคคล

                ที่เขาถึงขอมูลขาวสารการพัฒนาอสังหาริมทรัพย และผูมีอิทธิพลในทองถิ่น

                         2)  นโยบายสงเสริมการทองเที่ยวที่กระตุนใหเกิดแยงชิงพื้นที่ปา พื้นที่ชายฝงทะเล มาเปนพื้นที่

                อุตสาหกรรมทองเที่ยว ซึ่งมีผลกระทบตอการแยงชิงทรัพยากรที่ดิน
                         3)  นโยบายการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานเพื่อเปดประเทศเขาสูการพัฒนาเศรษฐกิจ ดวยการ

                สรางโครงสรางพื้นฐาน เชน ถนน เขื่อน และเปลี่ยนพื้นที่เกษตรกรรมเปนพื้นที่อุตสาหกรรม พื้นที่เมือง

                การบริการทองเที่ยว และพาณิชยกรรม และใชนโยบายเวนคืนที่ดิน

                         4)  นโยบายการเพิ่มพื้นที่ปาอนุรักษใหไดรอยละ 25 ของเนื้อที่ประเทศ จึงทําใหมีการขยายพื้นที่
                ปาอนุรักษ เชน อุทยานแหงชาติ วนอุทยานแหงชาติ เขตรักษาพันธุสัตวปา เขตหามลาสัตว เปนตน ซึ่งไมได

                มีการตรวจสอบการถือครองที่ดินและทําประโยชนที่ดินมากอนในระดับพื้นที่ แตใชภาพถายทางอากาศ

                จึงทําใหเกิดความขัดแยงกับประชาชนที่ทําประโยชนในที่ดินมากอนการประกาศเขตปาอนุรักษ







           54    รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข
                 นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80