Page 71 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 71

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                National Human Rights Commission of Thailand

                         อิทธิพลของระบบทุนนิยมมีผลตอแนวคิดของผูบริหารประเทศและการกําหนดนโยบายของรัฐ

                เปนอยางมากตั้งแตเริ่มแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับแรก รัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ยกเลิก

                การจํากัดการถือครองที่ดินที่กําหนดไวในประมวลกฎหมายที่ดิน รัฐบาลชุดตอ ๆ มาไดปรับปรุงแกไข รวมทั้ง

                ออกกฎหมายอีกหลายฉบับรวมทั้งกฎหมายดานการสงเสริมอุตสาหกรรมอนุญาตใหนายทุนตางชาติถือครอง
                ที่ดินได ผนวกกับนโยบายเศรษฐกิจอื่น ๆ อีก เชน นโยบายสัมปทานทําไม นโยบายปลูกสรางสวนปา นโยบาย

                ขยายความเจริญไปสูภูมิภาค ทําใหมีการกอสรางเสนทางคมนาคมและสิ่งกอสรางสาธารณูปโภคอยางกวางขวาง

                เชน  ถนน  เขื่อน  อางเก็บนํ้า  ทําใหประชากรตองอพยพเคลื่อนยายถิ่นที่อยูที่ทํากินจากการตัดถนน

                การสรางเขื่อนหรืออางเก็บนํ้า รวมทั้งการทําสวนปาจนทําใหเกษตรกรที่ยากจนเดินขบวนประทวงรัฐบาล
                กันอยางกวางขวาง  แตสงเสริมการเกษตรเปนนโยบายที่มีผลกระทบตอการสูญเสียที่ดินอยางรวดเร็ว

                และกวางขวาง เพราะไปปรับเปลี่ยนระบบการผลิตแบบอิงธรรมชาติมาเปนระบบเกษตรแผนใหม ใชพันธุ

                เครื่องจักรกล ปุย และยาจากตางประเทศ ทําใหตนทุนเกษตรกรสูงแตรายไดตํ่าเพราะไมมีอํานาจตอรองราคา

                พืชผลกับการตลาด จึงมักขาดทุนเปนหนี้สินและสูญเสียที่ดิน แมเกษตรกรจะเขาไปบุกเบิกปาหาที่ทํากินใหม
                จนพื้นที่ปาถูกเปลี่ยนเปนพื้นที่เกษตรไปปละ 2 - 3 ลานไรในชวงนั้น แตก็ไมอาจรักษาที่ดินผืนใหมภายใต

                ระบบเศรษฐกิจทุนนิยมไวได เกษตรกรสวนใหญจึงตกอยูในวงจรอุบาทวของความยากจนคือถูกเอารัดเอาเปรียบ

                ขาดทุน เปนหนี้สิน สูญเสียที่ดิน จํานวนเกษตรกรไรที่ทํากินเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 3

                จนสงผลกระทบตอความสงบสุขของสังคม
                         แมรัฐบาลจะมีโครงการจัดที่ดินเพื่อชวยเหลือเกษตรกรที่สูญเสียที่ดินตลอดมา เชน การจัดที่ดิน

                ชวยเหลือชาวนาชาวไรของกรมที่ดินตั้งแตป 2501  นิคมกรมสงเสริมสหกรณ  นิคมสรางตนเอง

                โดยกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ตั้งแตป 2511 และตั้งแตป 2518 เปนตนมาก็มีโครงการปฏิรูปที่ดิน

                ซึ่งสวนใหญจัดในพื้นที่ปาไมที่เสื่อมสภาพ การจัดหมูบานปาไมและสิทธิทํากินในพื้นที่ปาไม โครงการจัดที่ดิน
                ของรัฐเหลานี้ใชที่ดินปาไมของรัฐมาจัดสรรใหเกษตรกรกวา 50 ลานไร แตสวนใหญไมประสบความสําเร็จ

                เพราะไมสามารถสนับสนุนเกษตรกรใหมีความรูความสามารถในการใชที่ดินสรางอาชีพรายไดเลี้ยงชีพ

                อยูไดพอเพียง สุดทายไมสามารถรักษาที่ดินไวได ที่ดินก็ถูกเปลี่ยนมือไปสูคนอื่น ผูไมไดครอบครองและไมได

                ทําการเกษตรดวยตนเอง
                         นโยบายเปลี่ยนสนามรบเปนสนามการคาของรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ในตนทศวรรษ 2530

                แมจะชวยใหประเทศในอินโดจีนที่มีอุดมการณและระบบการปกครองตางกันเลิกรบกัน หันมารวมมือกัน

                ทางเศรษฐกิจ แตก็มีสวนสําคัญไปกระตุนใหเกิดการกวานซื้อที่ดินเพื่อเก็งกําไรอยางกวางขวางมากที่สุดจนทั่วประเทศ

                ประกอบกับการมีนโยบายอื่น ๆ ทํานองเดียวกันตามมาอยางตอเนื่อง อาทิ นโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุน
                นโยบายการปลูกพืชพลังงานทดแทน ตลอดจนนโยบายสงเสริมการทองเที่ยว ทําใหการแกงแยงที่ดินรุนแรง





           50    รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข
                 นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76