Page 66 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 66

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                                                                                               National Human Rights Commission of Thailand

                        เพิ่มศักดิ์ มกราภิรมย (2546) รายงานปญหาการพัฒนากฎหมายปาชุมชนในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก

               ไววา ขอจํากัดที่ไมสามารถนําไปสูการคุมครองรักษาปาที่ดีในภูมิภาคนี้มี 7 ประการ 1) กระบวนการพัฒนา
               การจัดการปา ไมมั่นคง 2) อิทธิพลและความลําเอียงจากองคกรที่เกี่ยวของ 3) ความเขาใจของประชาสังคม

               ไมคอยเขาใจ 4) ความสัมพันธระหวางองคกรที่เกี่ยวของไมดี 5) การเมือง/กระบวนการตัดสินใจ ไมสมดุล
               6) กรอบกฎหมายที่เกี่ยวของ ไมสนับสนุน และ 7) เวทีการพูดคุยปรึกษาหารือ ไมคอยมีประสิทธิภาพ

                        ขอจํากัดเหลานี้ ทําใหเกิดปรากฏการณของปญหาซึ่งแสดงอาการออกมาใหเห็นในหลายดาน เชน
               ปญหาความขัดแยงในการใชทรัพยากร การปลูกพืชเกษตรที่ขัดตอกฎหมาย กิจกรรมการจัดการใชประโยชนปา

               ที่ขัดตอกฎหมาย สิ่งเหลานี้ไมไดเกิดขึ้นโดยบังเอิญ และเกิดรุนแรงอยางตอเนื่องในเขตปา เพราะประชาชน
               ไมมีสิทธิในเรื่องปา และรัฐไมคอยสนใจหรือใหความสําคัญที่จะปรับปรุงแกไขในเรื่องสิทธิของประชาชน

               เกี่ยวกับปา รวมทั้งเรื่องพื้นที่อยูอาศัยทํากินและทรัพยากรของกลุมชนทองถิ่น ซึ่งมักจะมีทรัพยากรทั้งปาไม
               นํ้ามันและแรธาตุอยูสมบูรณ เมื่อปญหาการรักษาปาผนวกเขากับปญหาการคอรรัปชั่นในการอนุญาตใหแสวงหา

               ประโยชนจากไมและทรัพยากรในปา ปญหาปาไมจึงเกิดผลกระทบในวงกวางไกลออกไปนอกเขตปาไปถึงพื้นที่ชนบท
               และในเมืองซึ่งไมสามารถแกไขได และผลกระทบเหลานี้ไปเชื่อมโยงเขากับการเสริมสรางความเขมแข็ง

               ของชุมชนชนบทการพัฒนาการทองเที่ยว ฯลฯ ซึ่งลวนแลวแตเปนนโยบายสําคัญของรัฐบาลในปจจุบันทั้งสิ้น
               แนวทางธรรมาภิบาลจึงเขามาสูวงการจัดการปาและทรัพยากรก็เพื่อที่จะหาแงมุม วิธีการ และผูรวมงานใหม ๆ

               เขามาชวยแกปญหาปาและทรัพยากร

                        2.4.2  นิติธรรม

                        ธานินทร กรัยวิเชียร (2504 : 433 - 434) อธิบายวา หลักนิติธรรม หมายถึง หลักการแหงกฎหมาย

               ที่เทิดทูนศักดิ์ศรีแหงความเปนมนุษยและยอมรับนับถือสิทธิแหงมนุษยชนทุกแงทุกมุม รัฐตองใหความอารักขา
               คุมครองมนุษยใหพนจากลัทธิทรราชย หากมีขอพิพาทใด ๆ เกิดขึ้น ไมวาระหวางรัฐกับเอกชน หรือเอกชน

               กับรัฐ ศาลสถิตยุติธรรมยอมมีอํานาจอิสระในการตัดสินคดีตามกฎหมายของบานเมือง นิติธรรม (Rule of Law)
               เปนหลักการสําคัญทางการปกครอง มีความหมายหลากหลายตามความคิดของแตละคนแตไดกอรูปรางชัดเจนขึ้น

               เปนหลักของการปกครองโดยกฎหมาย เพื่อกอใหเกิดความเปนธรรมทั้งตอบุคคลในฐานะปจเจกชน (Individual
               Interest) และเปนธรรมตอประโยชนสวนรวม (Public Interests) ซึ่งรัฐมีหนาที่ดําเนินการเพื่อคุมครอง

               ทั้งประโยชนสวนบุคคลของสมาชิกและประโยชนสวนรวมในกรณีที่ประโยชนขัดกันตองจัดการใหเกิดดุลยภาพ
               ที่เปนธรรมแกทั้งสองฝาย (ชัยวัฒน วงศวัฒนศานต, 2540 : 25) ขณะที่หยุด แสงอุทัย (2506 : 90 - 93) เห็นวา

               นิติธรรมมีหลักสําคัญ 3 ประการ คือ 1) กฎหมายเปนสิ่งที่อยูเหนือสิ่งอื่นใดในการปกครองประเทศ 2) ขอบเขต
               อํานาจหนาที่ของรัฐมีจํากัดไวแนนอน 3) ศาลมีอิสระในการพิจารณาและตรวจสอบความชอบกฎหมาย

               ในการปกครอง ชัยวัฒน วงศวัฒนศานต (2540 : 20) อธิบายวา เปนการปกครองโดยกฎหมายที่เปนธรรม
               อีกนัยหนึ่งเปนหลักที่การปกครองดําเนินไปอยางเปนธรรม โดยกลไกกฎหมายซึ่งมีความหมายหลักวา

               การปกครองโดยกฎหมายอีกระดับหนึ่งและมิใชเปนหลักกฎหมายอยางลอย ๆ แตมีแนวโนมใหเห็นถึงเปาหมาย
               ของหลักการดังกลาวดวย



                                                                       รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข  45
                                                                นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71