Page 67 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 67
สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
National Human Rights Commission of Thailand
ชัยวัฒน วงศวัฒนศานต (2540 : 25 - 26) เสนอวาอาจจําแนกสาระสําคัญของหลักนิติธรรม
ออกไดดังนี้
1. การปฏิบัติตามกฎหมายทุกองคกรของรัฐ (Supremacy of Law) ไมวาจะเปนองคกรที่ใชอํานาจ
ทางนิติบัญญัติทางบริหารหรือทางตุลาการ อันเปนเรื่องของการจัดกลไกการใชอํานาจรัฐ (Machinery of
Government) โดยแตละองคกรจะมีขอบเขต ขอจํากัดของการใชอํานาจตาง ๆ ซึ่งมีลักษณะเฉพาะที่แตกตางกัน
และจะไมมีองคกรใดมีอํานาจเหนือกฎหมาย
2. หลักการแบงแยกอํานาจ (Separation of Power) หลักการแบงแยกอํานาจเปนหลักการเบื้องตน
เพื่อมิใหอํานาจรวมอยูในบุคคลเดียวกันจนเกิดการใชอํานาจโดยไมมีการคานและดุลกัน อันจะเปนการ
เปดชองทางใหเกิดการใชอํานาจโดยมิชอบไดงาย
3. การมีกฎหมายที่ดี (Good Law) อันจะเกี่ยวของทั้งในหลักเกณฑการจัดใหมีกฎหมาย
และสาระของกฎหมายในแงหลักเกณฑการจัดใหมีกฎหมายโดยทั่วไป เห็นตรงกันวา กฎหมายตองมีความชัดเจน
(Clarity) เพื่อใหบุคคลเขาใจความหมายไดงายและสามารถปฏิบัติตนใหถูกตองตามกฎหมายไดหรือสามารถ
ใชกฎหมายไดถูกตอง นอกจากนี้ กฎหมายจะตองมีความแนนอนมั่นคง (Certainty) การเปลี่ยนแปลงกฎหมาย
บอยเกินไปยอมจะกอใหเกิดความสับสนและทําใหประชาชนไมมั่นใจในสิทธิและหนาที่ของตน ทําใหไมอาจ
วางแผนในชีวิตไดเหมาะสมตามควร ความแนนอนมั่นคงของกฎหมายนี้จะมีผลสืบเนื่องถึงสิทธิหนาที่ที่เกิดขึ้น
ตามมาดวย หลักความมั่นคงแหงสิทธิ (Security of Right) ทําใหสมาชิกในสังคมทุกคนไดรับประโยชน
และการปฏิบัติที่เปนธรรม ความเปนธรรมในสาระนี้จึงสะทอนถึงการคุมครองฝายที่ออนแอมิใหตองเสียเปรียบ
หรือมิใหโอกาสโดยความเปนจริงทางเศรษฐกิจหรือสังคมสรางความเหลื่อมลํ้าแกผูที่มีโอกาสดอยกวาจนเกิด
ความไมเปนธรรม แนวคิดที่จะใหบุคคลทุกคนมีความเทาเทียมกันในทางกฎหมายเศรษฐกิจและสังคมนั้น
จึงยอมเปนวัตถุประสงคของกฎหมาย
4. การชอบดวยกฎหมายของการปกครอง (Administrative Legality) ในการปกครอง ฝายปกครอง
จะไดรับมอบหมายในการใชบังคับกฎหมายเพื่อรักษาประโยชนมหาชนและประโยชนเอกชนและตองใชอํานาจนั้น
ไดสอดคลองกับเจตนารมณของกฎหมาย การใดที่ทําไปไมถูกตองตามกฎหมายจะตองถูกเปลี่ยนแปลงเพื่อให
การเปนไปโดยชอบดวยกฎหมายหรือกอใหเกิดความรับผิดชอบเพื่อเยียวยาความเสียหายที่เกิดขึ้นตอเอกชน
ซึ่งในการนี้จะตองอยูในบังคับการตรวจสอบทางกฎหมายและการตรวจสอบทางการเมืองตามลักษณะที่เหมาะสม
5. ความรับผิดชอบของรัฐ (State Responsibility) ประชารัฐนั้นจัดตั้งเพื่อรักษาคุมครองสิทธิ
เสรีภาพของเอกชน โดยเอกชนทุกคนตองเสียสละทรัพยสินอันเปนภาษีใหแกการดําเนินงานของรัฐและในกรณี
ที่จําเปนอาจถูกเกณฑแรงงานหรือทรัพยสินอื่นเพิ่มเติมตามความจําเปนของรัฐ แตก็ยังตั้งอยูบนพื้นฐาน
ของความเทาเทียมกันในความสามารถที่จะเสียสละสวนนี้ได มิใชผูใดจะตองสูญเสียประโยชนเฉพาะตน
มากกวาผูอื่น ดังนั้น ในกรณีที่รัฐ (โดยเจาหนาที่) กอใหเอกชนคนใดเสียหายรัฐจะตองชดใชเยียวยาความเสียหาย
ไปตามที่เปนธรรมในภาระที่อยูรวมกันเปนประชารัฐ
46 รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข
นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”