Page 53 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 53

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                National Human Rights Commission of Thailand

                         3)  ระบบกรรมสิทธิ์ตามกฎหมายทําใหเกิดความขัดแยงในการอางสิทธิเหนือที่ดินระหวาง ฝายที่อาง

                กรรมสิทธิ์ตามกฎหมายกับฝายที่อางสิทธิตามจารีตประเพณี หรือสิทธิที่อิงอยูกับหลักการความชอบธรรมแบบอื่น ๆ
                ตัวอยางเชน ชาวบานในภาคเหนือ “ปฏิรูปที่ดินโดยชุมชน” ในที่ดินที่เอกชนถือกรรมสิทธิ์ชาวบานอางวา

                ผูถือกรรมสิทธิ์ที่ดินเหลานั้นไมมีความชอบธรรมที่จะครอบครองที่ดิน เพราะพวกเขาไมทําประโยชนในที่ดิน
                แตกลับปลอยใหที่ดินรกรางวางเปลา นอกจากนั้น บางคนยังไดกรรมสิทธิ์มาโดยมิชอบดวยกฎหมาย แตสําหรับ

                ชาวไรชาวนาถึงแมวาจะไมมีกรรมสิทธิ์ตามกฎหมายแตก็มีความชอบธรรมที่จะเขาครอบครองที่ดิน เพราะพวกเขา
                ใชประโยชนที่ดินผืนนั้นมาตั้งแตอดีตและพวกเขายังทําการเพาะปลูกสรางมูลคาทางเศรษฐกิจเหนือที่ดิน

                นอกจากนี้ มีกรณีความขัดแยงอีกมากมายทั่วประเทศที่ชาวบานอางสิทธิตามจารีตประเพณีในทํานองเดียวกัน
                เหนือที่ดินที่เปนกรรมสิทธิ์ของรัฐหรือเอกชน เชน ที่ดินในเขตปาของรัฐ ที่ราชพัสดุ ที่ดินเอกชน

                         4)  มีกรณีความขัดแยงในทองถิ่นมากมายที่เกิดจากการอางสิทธิเหนือที่ดินผืนเดียวกัน แตอิงอยูกับ
                หลักการที่ขัดแยงกัน เชน ความขัดแยงระหวางชาวบานดวยกันเองหรือระหวางชาวบานกับองคกรปกครอง

                สวนทองถิ่น เปนตน
                         ปญหาเหลานี้สะทอนวาระบบกรรมสิทธิ์ตามกฎหมายไมไดถูกยอมรับอยางสมบูรณ และไมไดเปน

                ระบบเดียวที่ประชาชนยึดถือปฏิบัติกันอยู ชาวบานในทองถิ่นพยายามทาทายระบบกรรมสิทธิ์ตามกฎหมาย
                มาโดยตลอดดวยการอางสิทธิที่อิงอยูกับหลักการอื่น ๆ ที่ชาวบานเห็นวามี “ความชอบธรรม” มากกวา

                ระบบกรรมสิทธิ์ของรัฐ
                         ขณะเดียวกันก็มีปญหาการเลือกปฏิบัติในการบังคับใชกฎหมาย มีกฎหมายหลายฉบับที่บัญญัติไว

                เพื่อใหมีการกระจายการถือครองที่ดิน เชน พ.ร.บ. ปฏิรูปที่ดิน และบางมาตราในประมวลกฎหมายที่ดิน
                แตเจาหนารัฐกลับเลือกปฏิบัติโดยการไมบังคับใชกฎหมายเหลานั้นหรือใชกฎหมายโดยไมถูกตองตามเจตนารมณ

                ตัวอยางเชน การปฏิรูปที่ดินที่ผานมาเปนการเอาที่ดินในเขตปามาปฏิรูปใหเอกชนแทนที่จะเอาที่ดินเอกชน
                มาปฏิรูปใหแกเกษตรกรซึ่งในที่สุดที่ดินเหลานั้นก็มักจะหลุดมือไปสูนายทุน จึงกลาวไดวา การปฏิรูปที่ดิน

                กลายเปนการเอาที่ดินในเขตปามาใหแกนายทุน
                         ในมาตรา 6 ของประมวลกฎหมายที่ดินบัญญัติใหมีการเวนคืนที่ดินเอกชนที่ถูกปลอยใหรกรางวางเปลา

                นานเกิน 10 ป แตเจาหนาที่รัฐไมเคยบังคับใชกฎหมายนั้นเลย ขณะที่มีเกษตรกรจํานวนมากที่อยูในเขตปา
                มานานแลว รัฐกลับไมรับรองสิทธิเหนือที่ดินใหแกพวกเขา

                         ปญหาการเลือกปฏิบัติในการบังคับใชกฎหมายยังรวมไปถึงการที่เจาหนาที่รัฐอาศัยอํานาจหนาที่
                เปดชองหรือรวมมือกับนายทุนใหมีการออกเอกสารสิทธิในที่ดินโดยมิชอบ ซึ่งปรากฏเปนกรณีความขัดแยงเกิดขึ้น

                มากมายทามกลางสถานการณปญหาการจัดการที่ดินที่ยืดเยื้อยาวนาน มีประชาชนตกเปนจําเลยและผูตองหา
                เปนจํานวนมาก ขณะเดียวกัน ขบวนการชาวบานกลุมตาง ๆ ก็เกิดขึ้นเพื่อเรียกรองใหรัฐแกไข ยกเลิก หรือระงับ

                การออกกฎหมาย นโยบาย และมติคณะรัฐมนตรี รวมทั้งเรียกรองใหรัฐบังคับใชกฎหมาย และออกกฎหมาย
                และการใชมาตรการอื่น ๆ นอกจากกฎหมาย







           32    รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข
                 นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58