Page 52 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 52
สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
National Human Rights Commission of Thailand
ความขัดแยงเรื่องที่ดินลงก็คือ ใหมี “การบริหารจัดการรวมกันระหวางรัฐและภาคสวนอื่น ๆ ทางสังคม
ในลักษณะเครือขาย” โดยภาครัฐควรจะดําเนินการรวม 4 ประการ คือ
1. กําหนดนโยบายการบริหารจัดการที่ดินที่มีเอกภาพ
2. ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการที่ดินใหทุกภาคสวนในสังคมเขามามีสวนรวม
ในการบริหารจัดการ รวมทั้งการปรับเปลี่ยนบทบาทเจาหนาที่ของรัฐใหทําหนาที่เปนผูอํานวยความสะดวก
ในการมีสวนรวม
3. พัฒนากลไกความรวมมือในการบริหารจัดการที่ดินโดยเฉพาะการจัดทําโครงการพัฒนาที่ดิน
ในอนาคตควรดําเนินการรวมกันระหวางภาคสวนตาง ๆ ในสังคม ทั้งภาครัฐ เอกชน ทองถิ่น หรือผูมีสวนไดเสีย
ทุกกลุมในลักษณะเครือขาย
4. ปรับปรุงเครือขายระบบขอมูลที่ดินที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งผูมีสวนไดเสียทุกกลุมเขาถึงได
จะเห็นไดวา ปญหาความขัดแยงในเรื่องการเขาถึง หรือความไมเทาเทียม ความไมเปนธรรม
ในการใชประโยชนที่ดินและปานั้น ไมใชปญหาการไมมีขอกฎหมาย แตเปนปญหาที่เกิดจากตัวบทกฎหมาย
และแนวทางการบังคับใชกฎหมายที่มีอยู ดังเชนบทความเรื่องปญหาทางกฎหมายในการจัดการที่ดินในประเทศไทย
โดย อัจฉรา รักยุติธรรม (2551) สะทอนใหเห็นถึงปญหาเรื่องนี้อยางชัดเจนวา กฎหมายสวนใหญที่มีอยูในสังคมไทย
ถูกเขียนขึ้นเพื่อใหอํานาจอยางเบ็ดเสร็จเด็ดขาดแกหนวยงาน เจาหนาที่รัฐจึงถูกใชเปนเครื่องมือของรัฐในการ
ควบคุมและจํากัดสิทธิประชาชนแตไมคอยเปดโอกาสใหประชาชนไดใชกฎหมายนั้นในการอางสิทธิอันพึงมีพึงได
ของตนเอง ยิ่งไปกวานั้น บอยครั้งรัฐยังอาศัยอํานาจตามกฎหมายเปดโอกาสหรือเอื้อประโยชนใหแกนายทุน
โดยกีดกันสิทธิของประชาชนจากการเขาถึงทรัพยากร
งานศึกษาจํานวนมากชี้วา ปญหาสําคัญของกฎหมายเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ในประเทศไทย เกิดจากการรับรองระบบกรรมสิทธิ์เพียงสองแบบ ไดแก กรรมสิทธิ์ของรัฐ และกรรมสิทธิ์
ของเอกชนแตไมยอมรับหลักการจัดการทรัพยากรแบบอื่น ๆ เชน ระบบกรรมสิทธิ์รวม ซึ่งเปนสิทธิตามธรรมชาติ
อันเกิดจากจารีตประเพณีที่ชุมชนทองถิ่นยึดถือปฏิบัติสืบตอกันมา
การใชระบบกรรมสิทธิ์สองแบบดังกลาวทําใหเกิดปญหามากมาย ไดแก
1) กระบวนการการออกเอกสารสิทธิที่ดินของรัฐมีขอบกพรองจํานวนมาก ทําใหการจัดการที่ดิน
ตามกฎหมายไมเกิดประสิทธิภาพ เชน มีที่ดินจํานวนมากที่ชาวบานครอบครองและใชประโยชนมานานแลว
แตตกสํารวจและไมไดรับเอกสารสิทธิ
2) การใชระบบกรรมสิทธิ์เอกชนเปนไปตามแนวทางของระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยมใหมที่มุง
แปลงทรัพยากรธรรมชาติใหเปนสินคาเพื่อใหซื้อขายแลกเปลี่ยนกันไดคลองตัว โดยเชื่อวา กลไกตลาด
จะชวยใหการจัดสรรทรัพยากรมีความเปนธรรมดวยกระบวนการแขงขันอยางเสรี แตความเปนจริงกลไกตลาด
กลับทําใหมีการปนราคาที่ดินใหสูงขึ้นเรื่อย ๆ จนกระทั่ง คนยากจน รวมถึงประชาชนทั่วไปไมมีกําลังจะซื้อที่ดินได
ยิ่งกวานั้น ความยากจน ปญหาหนี้สิน และความลมเหลวจากการเกษตรกดดันใหชาวไรชาวนาตองขายที่ดิน
และกลายเปนแรงงานรับจางในที่สุด
รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข 31
นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”