Page 48 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 48

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                                                                                               National Human Rights Commission of Thailand

               ถูกตองตามกฎหมายตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินฯ จึงเปนนโยบายที่สอดคลองกับแนวคิดที่วาดวย

               ความสําคัญของการนํานโยบายไปปฏิบัติของสมบัติ ธํารงธัญวงค (2549) ที่กลาววา ความสําเร็จหรือลมเหลว
               ของการนํานโยบายไปปฏิบัติจะสงผลกระทบทั้งทางตรงและทางออมตอผูตัดสินใจนโยบายกลุมเปาหมาย

               ที่เกี่ยวของและตอหนวยปฏิบัติ เมื่อการนํานโยบายไปปฏิบัติลมเหลวยอมแปลวาผูตัดสินใจ ในฐานะผูนํา
               ทางการเมืองที่ควบคุมกํากับดูแลหนวยปฏิบัติมีความบกพรองดวย และตองรับผิดชอบกับความลมเหลว

               ที่เกิดขึ้น กลาวคือ หากผูนํานโยบายไปปฏิบัติสามารถจัดที่ดินไดตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
               ไดรับผลประโยชน ซึ่งเปนเงื่อนไขสําคัญที่การปฏิบัติประสบผลสําเร็จ สอดคลองกับตัวแบบวิเคราะหทางดาน

               การจัดการที่เชื่อวา  ความสําเร็จของการนํานโยบายไปสูการปฏิบัติยอมขึ้นอยูกับองคการที่รับผิดชอบ
               วามีขีดความสามารถที่จะปฏิบัติงานใหสอดคลองกับความคาดหวังเพียงใด โครงการที่จะประสบความสําเร็จได

               จึงตองอาศัยโครงสรางขององคการที่เหมาะสม บุคคลากรที่อยูในองคการจะตองมีความรูความสามารถ
               ทั้งดานบริหารและเทคนิคอยางเพียงพอ และตองมีการวางแผนเตรียมการหรือมีความพรอมเปนอยางดี

               ทั้งดานวัสดุอุปกรณเครื่องมือและงบประมาณ
                        และสอดคลองกับการศึกษาของ วัฒนา ยั่งยืน (2547) ที่ทําการวิจัยเรื่องปญหาอุปสรรคในการนํานโยบาย

               การจัดที่ดินทํากินใหกับประชาชนไปปฏิบัติ กรณีที่ดินสาธารณะประโยชนของบานดงหนองอีดอก ตําบลหัวนา
               อําเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี พบวา นโยบายการจัดที่ดินทํากินใหกับประชาชนทําใหประชาชน

               ไดรับประโยชนโดยตรงสําหรับผูที่ไมมีที่ดินทํากินไดรับการรับรองสิทธิ์ในการจัดที่ดินทํากิน และสอดคลองกับ
               การวิจัยของ ศิวพร ฉั่วสวัสดิ์ (2548) ไดศึกษาวิจัยเรื่องปญหาการปฏิบัติงานของเจาหนาที่กรมที่ดินในการ

               ออกโฉนดที่ดิน พบวา ปญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงานของเจาหนาที่นอกจากจะตองศึกษาทําความเขาใจ
               และปฏิบัติงานใหเปนไปตามกฎหมาย และระเบียบคําสั่งที่เกี่ยวของกับการออกโฉนดที่ดินที่มีเปนจํานวนมากแลว

               เจาหนาที่กรมที่ดินยังตองศึกษาทําความเขาใจ และปฏิบัติตามหลักเกณฑและวิธีการขั้นตอนการปฏิบัติการ
               ทางการปกครองตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติขาราชการปกครอง พ.ศ. 2539 นอกจากความรูความเขาใจแลว

               การตีความปรับใชกฎหมายเปนอีกปญหาหนึ่งที่สงผลกระทบตอประสิทธิภาพการทํางานของเจาหนาที่
               และจากหลักฐานผลการวิจัย

                        ปญหาอุปสรรคและผลกระทบในการจัดที่ดินตาม พ.ร.บ. การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พบวา
               ปญหาอุปสรรคคือ การตีความความขัดแยงของ ส.ป.ก. กับขอกฎหมาย การใชงบประมาณและเอกสาร

               ส.ป.ก. 4 - 01 สอดคลองกับงานวิจัยเรื่องปาชุมชน : เทคโนโลยีอํานาจควบคุมชุมชนในเขตปาชิ้นใหม ? โดย
               สุรินทร อนพรม ที่ชี้ใหเห็นถึงปญหาความขัดแยงระหวางรัฐกับประชาชนในการใชประโยชนจากปา โดยเฉพาะ

               การจัดการปาโดยรัฐที่รวมศูนยอํานาจในการบริหารจัดการ ที่มองชาวบานเปนศัตรูทําลายทรัพยากรธรรมชาติ
               ทําใหมีการออกกฎหมายหลายฉบับที่สงผลกระทบตอประชาชนในดานวิถีชีวิต ขณะเดียวกันการบริหาร

               จัดการปาของรัฐก็ไมสามารถจัดการปาไดอยางแทจริง เพราะการลดลงของพื้นที่ปาก็ยังเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง
               จนเปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหเกิดการเรียกรองของภาคประชาชนในการเขามามีสวนรวมในการจัดการ

               ฐานทรัพยากรธรรมชาติ




                                                                       รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข  27
                                                                นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53