Page 51 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 51

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                National Human Rights Commission of Thailand

                         กลาวไดวา ปญหาความขัดแยงระหวางคนกับปาในสังคมไทยเกิดขึ้นมาเปนเวลานานหรือตั้งแต

                กรมปาไมอางสิทธิเหนือพื้นที่ปาไมแตแนวคิดการจัดการทรัพยากรแบบรวมศูนยของรัฐไมสามารถแกปญหาได
                หลักฐานที่ชัดเจน ไดแก การลดลงของพื้นที่ปาอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ การจัดการปาที่มีกรมปาไมเปน “พระเอก”

                เพียงผูเดียวยังกอใหเกิดความขัดแยงและการแยงชิงทรัพยากรระหวางกลุมตาง ๆ ในสังคม การเรียกรอง
                ใหมีการปรับเปลี่ยนระบบการบริหารจัดการทรัพยากรปาไมที่เนนและเปดโอกาสใหภาคีตาง ๆ โดยเฉพาะ

                ชาวบานหรือชุมชนทองถิ่นไดเขารวมในการตัดสินใจสําหรับการจัดสรรทรัพยากรอยางเทาเทียมจึงเริ่มขึ้น
                         งานการศึกษาเรื่อง ความขัดแยงในการบริหารจัดการที่ดิน โดยโสภณ  ชมชาญ ชี้ใหเห็นวา ความขัดแยง

                ในเรื่องที่ดินนั้นเกิดขึ้นทั้งระหวางหนวยงานของรัฐ รัฐกับเอกชน และเอกชนกับเอกชน ที่รุนแรงและยืดเยื้อ
                จะเกิดขึ้นระหวางรัฐกับเอกชนในที่ดินของรัฐ ทั้งที่ดินที่ประกาศเปนเขตสงวนและคุมครอง เชน เขตรักษา

                พันธุสัตวปา อุทยานแหงชาติ ปาสงวนแหงชาติ ที่สาธารณะที่พลเมืองใชประโยชนรวมกัน ที่ราชพัสดุที่ใช
                ในราชการทหาร มีสาเหตุและที่มาของความขัดแยง 4 ประการ คือ นโยบายของรัฐไมมีเอกภาพ ขาดเครือขาย

                ระบบขอมูลที่ดินที่ดี มาตรการควบคุมการใชที่ดินไมมีประสิทธิภาพ และผูมีสวนไดเสียทุกกลุมไมมีสวนรวม
                ในการบริหารจัดการที่ดิน ไดมีความพยายามแกไขความขัดแยงจากหลายฝายในชวงเวลาที่ผานมา ทั้งจาก

                ฝายการเมือง คือ สมาชิกสภาผูแทนราษฎรแตไมประสบความสําเร็จมากนักเพราะขาดความตอเนื่องในการ
                แกไขปญหา เนื่องจากมีการยุบสภาและเปลี่ยนแปลงรัฐบาลบอยครั้ง แนวคิดของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรเอง

                ก็มี 2 แนวทาง คือ การเพิกถอนปาสงวนแหงชาติแลวออกเอกสารสิทธิ์ใหราษฎรตามประมวลกฎหมายที่ดิน
                และเมื่อเพิกถอนแลวใหนําไปปฏิรูปที่ดิน ซึ่งหาขอยุติไดยาก ในสวนของภาครัฐนั้น ไดมีความพยายามที่จะปองกัน

                และแกไขความขัดแยงมาตลอดเวลาอันยาวนาน ในกรณีของการบุกรุกเขาทํากินในพื้นที่ที่รัฐสงวน คุมครอง
                และอนุรักษไว รัฐไดมีนโยบายลดความขัดแยง โดยการประนีประนอมใหอยูอาศัยตอไปได หรือผอนผันใหทํากิน

                ตอไป ตลอดจนมีการจําแนกออกใหเปนที่ดินทํากินในกรณีของปาไมถาวร หรือยกเลิกเพิกถอนปาสงวนแหงชาติ
                เปนที่ดินทํากิน โดยการประกาศเปนเขตปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม นอกจากนี้ รัฐยังไดมีนโยบายใหประชาชน

                เขามามีสวนรวมในการบริหารจัดการที่ดิน  เชน  ในการจัดรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม  การวางผังเมือง
                การจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ การกระจายอํานาจสูทองถิ่น การบริหารกิจการบานเมืองที่ดี การรับฟง

                ความคิดเห็นของประชาชน จากการศึกษาและสํารวจกรณีพิพาทและความขัดแยงปญหาที่ดินในภาคตาง ๆ
                ของประเทศ รวม 740 กรณี สามารถแกไขปญหาไดมีจํานวน 89 กรณี หรือรอยละ 12 ของปญหาทั้งหมดเทานั้น

                ถึงแมจะไดมีแผนบริหารราชการแผนดินในป พ.ศ. 2548 - 2551 ในเรื่องการเรงรัดกระจายสิทธิ์ที่ดิน
                และการจัดที่ดินทํากินพรอมสาธารณูปโภคใหแกคนยากจน รวมทั้งการพัฒนากฎหมายและสงเสริมการบริหาร

                กิจการบานเมืองที่ดี โดยมีวัตถุประสงคใหประชาชนทุกระดับมีความพึงพอใจในคุณภาพการใหบริการ
                ของหนวยงานภาครัฐ อยางไรก็ตาม การดําเนินงานตามแนวคิดและนโยบายตาง ๆ ที่ผานมา ความขัดแยง

                และขอพิพาทยังคงมีอยูและดูเหมือนวาจะทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น ในขณะที่ชุมชนหลายแหงในภาคตาง ๆ
                ของประเทศสามารถแกไขปญหาไดภายใตสถานการณดังกลาวนี้ จึงมีขอเสนอเปนทางเลือกในการลด







           30    รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข
                 นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56