Page 43 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 43

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                National Human Rights Commission of Thailand

                บางปะอิน เมื่อ ร.ศ. 120 ซึ่งตรงกับ พ.ศ. 2444 หลังจากนั้น ไดมีการสถาปนากรมทะเบียนที่ดิน หรือกรมที่ดิน

                ปจจุบันขึ้นในกระทรวงเกษตราธิการ เมื่อ 17 กุมภาพันธ พ.ศ. 2444 และมีการออกพระราชบัญญัติออกโฉนดที่ดิน
                ร.ศ. 127 (พ.ศ. 2451) ซึ่งไดรวบรวมการดําเนินการเรื่องที่ดินแตดั้งเดิมหลายฉบับไวเปนฉบับเดียว และถือเปน

                มูลฐานของกฎหมายเกี่ยวกับการออกโฉนดที่ดินตอมา โดยไดมีการแกไขเพิ่มเติมเปนพระราชบัญญัติออกโฉนด
                ที่ดินอีกหลายฉบับ ฉบับสุดทาย คือ พระราชบัญญัติออกโฉนดที่ดิน (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2479 ซึ่งไดวิวัฒนาการ

                จนเปนประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 ใชบังคับเกี่ยวกับการออกโฉนดที่ดินและหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน
                ตาง ๆ สืบมาจนถึงปจจุบัน

                         ประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 1 สิทธิในที่ดินหมายความถึง “กรรมสิทธิ์ และใหหมายความรวมถึง
                สิทธิครอบครองดวย” และมาตรา 2 “ที่ดินซึ่งมิไดตกเปนกรรมสิทธิ์ของบุคคลหนึ่งบุคคลใด ใหถือวาเปนของรัฐ”

                และมาตรา 3 “บุคคลยอมมีกรรมสิทธิ์ที่ดินในกรณีดังตอไปนี้ (1) ไดมาซึ่งกรรมสิทธิ์ตามบทกฎหมาย กอนวันที่
                ประมวลกฎหมายนี้ใชบังคับ หรือไดมาซึ่งโฉนดที่ดินตามบทแหงประมวลกฎหมายนี้ (2) ไดมาซึ่งกรรมสิทธิ์

                ตามกฎหมายวาดวยการจัดที่ดินเพื่อการครองชีพหรือกฎหมายอื่น”
                         สําหรับประเภทของที่ดิน แบงออกเปน 2 ชนิด คือ ที่ดินของเอกชน และที่ดินของรัฐ โดยที่ดินเอกชน

                แบงไดเปน 2 ประเภท คือ 1) ที่ดินที่มีหนังสือแสดงกรรมสิทธิ์ อันไดแก โฉนดที่ดิน โฉนดตราจอง เปนที่ดิน
                ที่ทางราชการออกให และ 2) ที่ดินมือเปลา หมายถึง ที่ดินที่ยังไมมีหนังสือสําคัญแสดงกรรมสิทธ แตอาจมี

                หลักฐานสําหรับที่ดิน เชน ใบจอง (น.ส.2) ใบเหยียบยํ่า ตราจอง แบบแจงการครอบครอง (ส.ค.1) แบบหมายเลข 3
                หนังสือรับรองการทําประโยชน (น.ส.3 หรือ น.ส.3ก.) ผูครอบครองที่ดินดังกลาวนี้ กฎหมายถือวา มีสิทธิ์

                เพียงครอบครองเทานั้น สวนที่ดินของรัฐ แบงออกได 2 ประเภท คือ 1) ที่ดินที่เปนสาธารณสมบัติของแผนดิน
                หมายถึง ที่ดินอันเปนทรัพยสินทุกชนิดของแผนดินที่ใชเพื่อสาธารณประโยชน หรือสงวนไวเพื่อประโยชนรวมกัน

                เชน ที่ดินรกรางวางเปลา และที่ดินซึ่งมีผูเวนคืน หรือทอดทิ้ง ที่ดินสําหรับพลเมืองใชรวมกัน เปนตนวา ที่ชายตลิ่ง
                ทางนํ้าทางหลวง ทะเลสาบ ที่ทําเลเลี้ยงสัตว ปาชาสาธารณะ ที่ดินที่ใชเพื่อประโยชนของแผนดินโดยเฉพาะ

                เชน ปอม โรงทหาร ที่ตั้งสํานักงานทางราชการ และที่ดินสงวนไวเพื่อใชประโยชนรวมกัน เชน ที่ดินปาสงวนแหงชาติ
                ที่ดินอุทยานแหงชาติ และเขตรักษาพันธุสัตวปา เปนตน 2) ที่ดินอันเปนทรัพยสินของแผนดินธรรมดา หมายถึง

                ที่ดินที่รัฐถือสิทธิในที่ดินเชนเดียวกับเอกชนทั่วไป เชน ที่ดินราชพัสดุ ที่กรมธนารักษใหเอกชนเชา (วนิดา, 2536
                อางจาก สุพรรณี ทักษิณสัมพันธ, 2547)

                         จากนิยามและคําอธิบายขางตนชี้ใหเห็นวา การกําหนดสิทธิที่ดินเบื้องตนยังใหความหมายครอบคลุม
                ถึงสิทธิครอบครองดวย ดังนั้น ผูที่ครอบครองที่ดินอยูสืบตอกันมาเปนรุน ๆ แตครั้งบรรพบุรุษโดยไมมีผูอื่น

                มาครอบครองใชประโยชน ก็ยอมจะตองมีสิทธิในที่ดินผืนนั้น ๆ แตในประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 3 ไดไป
                จํากัดสิทธิของผูมีกรรมสิทธิ์ที่ดิน โดยระบุใหบุคคลมีกรรมสิทธิ์ที่ดินไดใน 2 กรณีเทานั้นคือ ไดมาซึ่งกรรมสิทธิ์

                ตามบทกฎหมาย กอนวันที่ประมวลกฎหมายนี้ใชบังคับ หรือไดมาซึ่งโฉนดที่ดินตามบทแหงประมวลกฎหมายนี้
                และไดมาซึ่งกรรมสิทธิ์ตามกฎหมายวาดวยการจัดที่ดิน เพื่อการครองชีพหรือกฎหมายอื่น ซึ่งหมายถึง ไดสิทธิ

                จากรัฐจัดที่ดินใหใหม ประมวลกฎหมายที่ดิน จึงทําใหผูที่ครอบครองอยูอาศัยทํากินในที่ดินกอนหรือหลัง




           22    รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข
                 นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48