Page 45 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 45

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                National Human Rights Commission of Thailand

                ระบบบริหารราชการแผนดินใหทันสมัยตามแบบตะวันตก พรอมทั้งปฏิรูปกฎหมายจัดการที่ดินจากกฎหมาย

                ตราสามดวงไปเปนระบบทอแรนส (โฉนดแผนที่) ที่มีผลเปนการผนวกกรรมสิทธิ์ที่ดินทั้งความเปนเจาของและสิทธิ
                ในการใชประโยชนที่เคยแยกกันเขาเปนหนึ่งเดียวที่เรียกวา กรรมสิทธิ์เอกชน ซึ่งกอใหเกิดเจาของที่ดินที่ไมไดอยูใน

                พื้นที่ (Absentee Landlords) และแรงงานเสรีที่หลุดจากที่ดิน ทําใหการถือครองที่ดินเกิดภาวะการกระจุกตัว
                อยูในมือของชนชั้นสูง ที่ดินกลายเปนสินคา (Commodity) ที่มีราคาสูงสงผลกระทบใหชาวนาชาวไรไรที่ดินเพิ่มขึ้น

                อยางรวดเร็วจนกลายเปนปญหานับแตนั้นมา
                         กอนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวรัชกาลที่ 7 ก็ไดเสนอเก็บภาษี

                รายไดและภาษีอสังหาริมทรัพยเพื่อชวยบรรเทาความเดือดรอนของคนยากจน แตไมไดรับความเห็นชอบจากรัฐสภา
                และตั้งแตการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 จนถึงปจจุบันไดมีความพยายามปฏิรูปที่ดินเพื่อปรับเปลี่ยน

                กรรมสิทธิ์การถือครองที่ดินที่กระจุกตัวอยูใหกระจายสูกลุมคนตาง ๆ เพื่อใหเกิดความเปนธรรมอยู 3 ระลอก
                         ชวงเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 นโยบายปฏิรูปที่ดินระลอกแรก (พ.ศ. 2476) ที่มาจาก

                ความตั้งใจที่จะแกไขปญหาการถือครองที่ดินซึ่งดํารงอยูกอนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475
                ของคณะราษฎรสายพลเรือน นําโดยนายปรีดี พนมยงค ในเคาโครงเศรษฐกิจของนายปรีดี พนมยงค ไดกลาวถึง

                “การประกันความสุขสมบูรณของราษฎร” และ “วิธีซึ่งรัฐบาลจะหาที่ดิน แรงงาน เงินทุน” อันไดแก การจัดหาที่ดิน
                โดยการซื้อ “ที่ดินที่จะใชประกอบการทางเศรษฐกิจ เชน ที่นาหรือไร กลับคืนสูรัฐบาล” มีขอเสนอใหรัฐบาล

                ใชพันธบัตรซื้อที่ดินสําหรับการเพาะปลูกทั้งหมด แตถูกโจมตีวา “เคาโครงการเศรษฐกิจแหงชาติ” เปนโครงการ
                ของคอมมิวนิสต และไมไดรับเห็นชอบใหเปนนโยบายของรัฐบาล การที่นโยบายปฏิรูปที่ดินถูกตอตานอยางรุนแรง

                จากคณะเจาและขุนนางขาราชการชั้นสูง รวมทั้งสวนหนึ่งของคณะราษฎร เพราะนโยบายปฏิรูปที่ดินดวยการ
                รวมที่ดินสงผลกระทบกระเทือนอยางรุนแรงตอการถือครองที่ดินของคณะเจาและขุนนางขาราชการชั้นสูง

                ซึ่งเปนกลุมที่ถือครองที่ดินเปนจํานวนมาก
                         ความตั้งใจปฏิรูปที่ดินระลอกที่สองในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม (พ.ศ. 2497) ซึ่งดําเนินนโยบาย

                ทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมแบบชาตินิยมตามแนวคิดของ หลวงวิจิตรวาทการ เพื่อปลด
                พันธนาการของตางชาติที่ครอบงําเศรษฐกิจของไทยรวมทั้งความตองการสงเสริมการพัฒนาเกษตรกรรมอุตสาหกรรม

                เพื่อใหราษฎรไทยอยูดีกินดีขึ้นแตชาวนาสวนใหญไมมีที่นาของตนเอง ในขณะที่ผูมีอิทธิพลในสังคมใชทั้ง
                เลหเพทุบายการขมขูและชองวางของกฎหมายฉกฉวยเอาที่ดินจากราษฎรไปจนเกิดเปนกรณีพิพาทจํานวนมาก

                รัฐบาลสามารถตราพระราชบัญญัติจัดที่ดินเพื่อความเปนธรรมแกสังคมและพระราชบัญญัติใหใชประมวลที่ดิน 2497
                ซึ่งมีเนื้อหาสาระในการจํากัดการถือครองที่ดินทั้งในการประกอบการเกษตรอุตสาหกรรมและที่อยูอาศัย

                         แตหลังจากการรัฐประหารยึดอํานาจของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต รัฐบาลเผด็จการของไทยไดไปรับ
                เอาแผนพัฒนาเศรษฐกิจตามคําแนะนําของธนาคารโลกมาเปนแนวนโยบายแหงรัฐภายใตบรรยากาศของ

                สงครามเย็น ทําใหโครงสรางสวนลางของไทยผนวกเปนสวนหนึ่งของระบบเศรษฐกิจโลกอยางสมบูรณในขณะที่
                โครงสรางสวนบนไมไดเปนประชาธิปไตยที่สมบูรณยิ่ง ไดยกเลิกการจํากัดเพดานการถือครองที่ดินตามประมวล

                กฎหมายที่ดินที่สงผลใหการถือครองที่ดินเกิดสภาวะการกระจุกตัว ในมือคนสวนนอย คือพระราชบัญญัติ




           24    รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข
                 นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50